+ All Categories
Home > Documents > โดย นางปราณี บุญทอง...

โดย นางปราณี บุญทอง...

Date post: 05-Jul-2020
Category:
Upload: others
View: 4 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
99
การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน โดย นางปราณี บุญทองแกว สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2557
Transcript
Page 1: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

โดย

นางปราณี บุญทองแกว

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 2: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

Participation of Community Leaders with Effective Solid Waste Management in the Community Bang Khen

By

Mrs. Pranee Boonthongkaew

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2014

Page 3: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(1)

หัวขอสารนิพนธ การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

ชื่อผูศึกษา นางปราณี บุญทองแกวหลักสูตร/ คณะ/ มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ ศิลปศาสตร/ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ดร.อุษณี มงคลพิทักษสุขปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคประการแรกเพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนเขตบางเขน ประการที่สองเพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยเขตบางเขน และประการสุดทายเพื่อศึกษาอิทธิพลของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน สําหรับประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน จํานวน 75 ชุมชน โดยมีแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลและใชสถิติ เพื่อบรรยายลักษณะตัวแปร คาแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะหสหสัมพันธ และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ดวยวิธีคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise

ผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เรียงตามลําดับดังนี้ ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาและดานรวมปฏิบัติงาน ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา และดานรวมติดตามผลและประเมินผล ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน พบวา ภาพรวมอยูระดับปานกลาง โดยเรียงตามลําดับดังนี้ดานลดการเกิดมูลฝอย ดานคัดแยกมูลฝอย ดานรวบรวมมูลฝอย และดานใชประโยชน

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนสามารถพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ไดรอยละ 90.9 โดยการมีสวนรวมของผูนําชุมชนดานที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ไดแก ดานการมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล และดานการมีสวนรวมปฏิบัติงาน สวนดานการมีสวนรวมคนหาและสาเหตุ และดานการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05

Page 4: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาชวยเหลือ และความรวมมือจากบุคคลหลายทาน ทานแรกที่ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงในความกรุณา คือ ดร.อุษณี มงคลพิทักษสุข อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ที่กรุณาถายทอดความรู ประสิทธิ์ประสาทวิชาและใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ในการทําสารนิพนธจนเสร็จสมบูรณ ผูศึกษารูสึกซาบซึ้งในความกรุณาเปนอยางยิ่งและขอจดจําคําแนะนํา คําสั่งสอนอันมีคาเพื่อนําไปใชในชีวิตในอนาคตตอไป

ขอขอบพระคุณสํานักงานเขตบางเขน ที่เปดโอกาสดานการศึกษาอันมีคาอยางยิ่งสําหรับผูศึกษาเพื่อเพิ่มพูนองคความรู

ขอขอบพระคุณ ผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน จํานวน 75 ชุมชน ทุกทานที่ไดใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถาม และขอบคุณเจาหนาที่ทุกทานที่อํานวยความสะดวกในการไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามเปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณบิดาและมารดาของผูศึกษาซึ่งไดใหกําเนิด ใหการอุปการะเลี้ยงดูผูศึกษา โดยใหคําสั่งสอนแนวคิดและการปฏิบัติตัวทําใหผูศึกษามีวันนี้ รวมถึงหลายๆ กําลังใจจากพี่นอง เพื่อน ๆ รวมรุน 28/2 ทุกทานที่เปนกําลังใจอยางยิ่ง ทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี

สุดทายนี้ ผูศึกษาขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยเกริก ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาที่เปดโอกาสการสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) ทําใหผูศึกษาไดมาเขามาศึกษาจนสําเร็จในวันนี้

ปราณี บุญทองแกว มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 5: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(3)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (7)

บทที่ 1 บทนํา 11.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 31.3 ขอบเขตของการศึกษา 31.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 52.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม 52.2 แนวคิดเรื่องประสิทธิผล 152.3 แนวคิดเรื่องการจัดการมูลฝอย 222.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 272.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 322.6 สมมติฐานในการศึกษา 322.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 33

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 353.1 วิธีดําเนินการศึกษา 353.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา 353.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 35

Page 6: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

3.4 การวิเคราะหขอมูล 363.5 การทดสอบและหาคุณภาพของเครื่องมือ 373.6 สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล 38

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 394.1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 394.2 การวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน 414.3 การวิเคราะหประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน 474.4 การวิเคราะหสหสัมพันธระหวางตัวแปรการมีสวนรวม 524.5 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณเพื่อทดสอบสมมติฐาน 53

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 595.1 สรุปผล 595.2 อภิปรายผล 605.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา 715.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป 73

บรรณานุกรม 74

ภาคผนวก 83แบบสอบถาม 84

ประวัติผูศึกษา 89

(4)

Page 7: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 392 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ 41

เขตบางเขน 3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ 42

เขตบางเขน ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา4 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ 44

เขตบางเขน ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา5 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ 45

เขตบางเขน ดานรวมปฏิบัติงาน6 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ 46

เขตบางเขน ดานรวมติดตามผลและประเมินผล7 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน 47

เขตบางเขน8 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน 48

เขตบางเขน ดานลดการเกิดมูลฝอย9 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน 49

เขตบางเขน ดานการคัดแยกมูลฝอย10 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน 50

เขตบางเขน ดานการใชประโยชน11 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน 51

เขตบางเขน ดานการรวบรวมมูลฝอย12 แสดงคาสถิติพื้นฐานและเมตริกสหสัมพันธระหวางตัวแปรการมีสวนรวมของผูนํา 52

ชุมชนทั้ง 4 ดาน13 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุ 53

Page 8: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(6)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

14 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง 5415 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคุณดวยวิธี Stepwise 5616 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 58

(6)

Page 9: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

(7)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 322 ตัวแบบการถดถอยพหุคูณของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผล 57

การจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

Page 10: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหากรุงเทพมหานครในฐานะเมืองหลวงที่ เปนศูนยกลาง การปกครอง การศึกษา การ

คมนาคมขนสง การ เงินการธนาคาร การพาณิชย การสื่อสาร ฯลฯ ของประเทศไทย กรุงเทพมหานคร จึงเปนแหลงดึงดูดใหคนตางจังหวัดหลั่งไหลเขามาอยูอาศัย ดวยเหตุผลความจําเปนที่ตางกันไป ทั้งอาศัยอยูชั่วคราวและประเภทตั้งถิ่นฐานถาวร สงผลใหกรุงเทพมหานครเปนจังหวัดที่หนาแนนของประชากรมากที่สุดในประเทศ โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568,737 ตารางกิโลเมตร ขณะที่มีจํานวนประชากรอาศัยอยูมากกวา 12 ลานคน หรือเทากับมีความหนาแนนของประชากร 7,649 คนตอตารางกิโลเมตร การเติบโตของเมืองและการขยายตัวของประชากรกอใหเกิดปญหาดานตางๆ ตามมา โดยเฉพาะปญหาสิ่งแวดลอมที่เปนปญหาคูขนานกับการขยายตัวของความเจริญทางวัตถุ คนกรุงเทพฯ จึงตองเผชิญกับสารพัดปญหา เชน การจราจรหนาแนน มลพิษทางอากาศและเสียง ฝุนควัน มลพิษจากน้ําเนาเสีย ปญหาปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้น ภูมิทัศนเมืองที่ขาดความเปนระเบียบ การขาดแคลนพื้นที่ พักผอนออกกําลังกาย และนํากิจกรรมนันทนาการอยางเหมาะสม เปนตน (สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร, 2551: 10)

ในบรรดาปญหาสิ่งแวดลอมทั้งหลายที่เกิดขึ้นนั้น ปญหาขยะมูลฝอยนับวาเปนปญหาที่เกิดขึ้นและอยูใกลตัวประชาชนมากที่สุด เนื่องจากประชาชนแตละคนมีสวนในการเปนผูผลิต เปนผูบริโภคและเปนผูไดรับผลกระทบจากปญหาดวย ขยะมูลฝอยที่พบสวนใหญเปนขยะมูลฝอยจากครัวเรือนหรือชุมชน ที่จะตองไดรับการแกไขอยางจริงจัง หนวยงานเกี่ยวของทั้งหลายตางจะพยายามหาทางออกและแกไขปญหาดวยวิธีการตางๆ ไมวาจะเปนการสรางจิตสํานึกใหประชาชน การรณรงคลดปริมาณของมูลฝอย หากแตปริมาณมูลฝอยยังคงเพิ่มขึ้นอยูตลอดเวลา และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทุกป ซึ่งปริมาณมูลฝอยของประเทศไทย ป 2555 ทั่วประเทศมีประมาณ 15.03 ลานตัน หรือ 41,064 ตันตอวัน เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครมีมูลฝอยที่ไดรับการเก็บขน 8,780 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ 21 เพิ่มขึ้นจากป 2550 คิดเปนรอยละ 2.91 โดยอัตราการผลิตขยะมูลฝอยโดยเฉลี่ยทั่วป ร ะ เ ท ศ ใ น ป 2555 อ ยู ที่ 0.64 กิ โ ล ก รั ม ต อ ค น ต อ วั น ( ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ก ร ะ ท ร ว งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2555: 57)

Page 11: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

2

ดวยเหตุนี้ทําใหผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มีการกําหนดนโยบายใหกรุงเทพมหานครเปนมหานครสี เขียวและสะอาด โดยมุงเนนผลักดันการจัดการปญหาขยะมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพ มีการเพิ่มระบบบริหารการจัดเก็บขยะ และการรณรงคการคัดแยกขยะมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพประกอบกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 – 2557 ดานยุทธศาสตรการพัฒนากรุงเทพมหานครใหเปนมหานครแหงสิ่งแวดลอม ไดกําหนดกลยุทธการลดปริมาณมูลฝอย และการนําของเสียกลับมาใชประโยชน กรุงเทพมหานครจึงมอบหมายใหสํานักงานเขตทั้ง 50 เขต เปนหนวยงานหลักในการทําหนาที่จัดเก็บขยะ โดยมีสํานักสิ่งแวดลอมเปนหนวยงานสนับสนุนทั้งในดานวิชาการ วัสดุอุปกรณการจัดเก็บมูลฝอยกรณีเรงดวน และวาจางใหเอกชนดําเนินการขนถายขยะมูลฝอยจากสถานีขนถายขยะมูลฝอยกรุงเทพมหานคร ไปฝงกลบยังสถานที่ที่เอกชนจัดหา แตจากการดําเนินงานในปจจุบันของหนวยงานทั้งกรุงเทพมหานครและเอกชนไมสามารถเก็บรวบรวมและกําจัดมูลฝอยไดทั้งหมด เนื่องจากปริมาณขยะมูลฝอยมีมากเกินความสามารถในการเก็บรวบรวมของพนักงานและเกินความจุของรถเก็บขนมูลฝอย และพื้นที่ที่ฝงกลบ ทั้งมีแนวโนมวาจะรับปริมาณขยะมูลฝอยไดลดลง จึงมีขยะมูลฝอยที่ไมไดเก็บรวบรวมตกคางอยูตามบานเรือน บนถนน แหลงน้ํา และสวนสาธารณะตางๆ ขยะมูลฝอยตกคางเหลานี้ทําลายทัศนียภาพ เปนแหลงเพาะเชื้อโรค ตลอดจนเปนแหลงกอมลพิษไมพึงประสงคดานอื่นๆ ตามมาอีกหลายประการ

การแกไขปญหาดวยวิธีการจัดเก็บขยะมูลฝอยจากสํานักงานเขต จึงมิใชทางออกที่ดีสําหรับการดําเนินการตามยุทธศาสตรดังกลาว ดวยเหตุนี้การนําแนวคิดเรื่องขยะชุมชนมาใชในการบริหารจัดการเปนอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถชี้ใหเห็นเปนรูปธรรมไดวา การจัดการขยะใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล แตที่ผานมาหนวยงานภาครัฐและเอกชนไดดําเนินการแกไขดวยวิธีการแตกตางกัน โดยรัฐมีนโยบายและแผนการดําเนินงานในดานที่เกี่ยวกับขยะและสิ่งแวดลอมจํานวนมาก สวนใหญเปนการมอบหมายโครงการหรือหยิบยื่นใหประชาชนซึ่งเปนฝายรับ ทําใหประชาชนขาดการมีสวนรวม ขาดความเขาใจอยางลึกซึ้งในปญหาตางๆ และมองไมเห็นคุณคาของการดําเนินการ จึงไมไดใหความรวมมืออยางจริงจัง ทั้งที่ความจริงการจัดการขยะจะตองดําเนินการฝงเปนระบบ และกระบวนการ นับตั้งแตการลดปริมาณขยะกอนทิ้ง โดยอาศัยความรวมมือจากประชาชนในฐานะผูผลิตขยะหรือผูทิ้งขยะ ซึ่งเปนการปองกันปญหาที่ตนเหตุ ดังนั้นหนวยงานตางๆ ควรปรับบทบาทเปนผูใหการสนับสนุนสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนโดยใหผูนําชุมชนเปนแกนนําและชวยพัฒนาขีดความสามารถในการทํางานรวมกัน เพื่อใหชุมชนตางๆ มีความเขมแข็งขึ้นตอไป

Page 12: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

3

ดวยผูนําชุมชนเปนปจจัยสําคัญที่มีความสําคัญ และมีอิทธิพลตอการบริหารชุมชน เนื่องจากผูนําชุมชนเปนผูใกลชิดและมีผลตอพฤติกรรมของบุคคลในชุมชน ผูนําจะเปนผูรับผิดชอบในกระบวนการทํางาน สงเสริม และสนับสนุนใหประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู มีการชวยเหลือกัน รวมคิด รวมทํา และรวมรับประโยชนจากการฟนฟู ปองกันและแกไขปญหาชุมชนใหบรรลุเปาหมาย สงเสริมการตอบสนองตอความตองการของชุมชน ผูนําชุมชนจึงเปนกลไกหลักในการกําหนดทิศทาง สรางพลังชุมชนใหเขมแข็งและพึ่งตนเองได กลายเปนชุมชนตนแบบในการพัฒนาชุมชนไดอยางยั่งยืน เชนเดียวกับการจัดการขยะมูลฝอย การที่ผูนําชุมชนมีความรู ความเขาใจและสามารถนําความรูดานการจัดการขยะมูลฝอยไปปรับใชในชุมชนของตนเองได ทั้งในดานการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนําของเสียกลับไปใชประโยชนโดยมุงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน ยอมเปนแนวทางสําคัญที่กรุงเทพมหานครและสํานักงานเขตทุกแหงลวนผลักดันใหเกิดผลสําเร็จอยางแทจริง

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ที่จดทะเบียนเปนชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานคร จํานวน 75 ชุมชน จึงเปนการศึกษาเพื่อทราบถึงระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนตอการนําความรู ความเขาใจหลักการจัดการขยะมูลฝอย มาทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชนใหเห็นคุณคา การคัดแยกขยะกลับมาใชประโยชน จนกลายเปนวัฒนธรรมใหมของคนไทยที่คัดแยกขยะกอนทิ้งลงถังกลายเปนขยะ ทั้งนี้เพื่อลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ และลดภาระกรุงเทพมหานครที่จะตองจัดเก็บและกําจัดซึ่งการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน นับวาเปนเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาชุมชนและสงผลใหสภาพแวดลอมของชุมชนดีขึ้น ทําใหชุมชนนาอยูอยางยั่งยืน

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนเขตบางเขน1.2.2 เพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยเขตบางเขน เพื่อศึกษาความ1.2.3 เพื่อศึกษาอิทธิพลของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยใน

ชุมชนเขตบางเขน

1.3 ขอบเขตของการศึกษา1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหาการศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการ

มูลเขตบางเขน โดยมีขอบเขตการศึกษา “ตัวแปรตน” ไดแก การมีสวนรวม และ “ตัวแปรตาม”

Page 13: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

4

ไดแก ประสิทธิผลในการจัดการมูลฝอย โดยสรุปแนวทางการศึกษาตัวแปรที่ใชในการศึกษา ดังนี้ การมีสวนรวม ผูศึกษาใชแนวคิดการมีสวนรวมของ เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527) และแนวคิดของอคิน รพีพัฒน (2527) ประกอบดวย

- รวมคนหาและสาเหตุของปญหา- รวมวางแผนแกไขปญหา- รวมปฏิบัติงาน- รวมติดตามผลและประเมินผล

ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ก า ร จั ด ก า ร มู ล ฝ อ ย ผู ศึ ก ษ า ใ ช แ น ว คิ ด ข อ ง สํ า นั ก สิ่ ง แ ว ด ล อ ม กรุงเทพมหานคร (2553) ประกอบดวย

- การลดการเกิดมูลฝอย - การคัดแยกมูลฝอย

- การใชประโยชนมูลฝอย- การรวบรวมมูลฝอย

1.3.2 ขอบเขตดานประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาทําการศึกษาผูนําชุมชนในเขตบางเขน จํานวนทั้งสิ้น 75 ชุมชน

1.3.3 ขอบเขตดานเวลาการศึกษาครั้งนี้กําหนดเก็บรวบรวมขอมูลในระยะเวลาตั้งแตเดือนสิงหาคม ถึง เดือน

กันยายน พ.ศ. 2556

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.4.1 ผลการศึกษาสามารถบงชี้ถึงการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในการจัดการมูลฝอยจาก

การรวมกิจกรรมกันในชุมชน เพื่อสรางสรรคสังคมนาอยู สะอาด เปนระเบียบและมีสภาพแวดลอมที่ดี

1.4.2 ผลการศึกษาจะนําไปสูแนวทางในการจัดการมูลฝอยจากแหลงกําเนิด กอใหเกิดการลดปริมาณมูลฝอยที่ตองเก็บขนไปกําจัด การไดรับประโยชนจากการขายและการใชประโยชนมูลฝอยตอไป

Page 14: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

5

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน เขตบางเขน ในบทนี้นั้นผูศึกษาไดนําเสนอกรอบแนวคิดทฤษฎีที่ เปนพื้นฐานของการศึกษาและวรรณกรรมที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม2.2 แนวคิดเรื่องประสิทธิผล2.3 แนวคิดเรื่องการจัดการมูลฝอย2.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ2.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.6 สมมติฐานในการศึกษา2.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวมแนวความคิดเกี่ยวกับการระดมประชาชนใหมีสวนรวมในการพัฒนาประชาชนเองนั้น

เปนแนวความคิดพื้นฐานของวิธีการพัฒนาชุมชน คือ“ การชวยใหประชาชนสามารถชวยตนเองได” (help people to help themselves” “aided self-help) ซึ่งกลาวไดวาเปนหัวใจของการพัฒนา กลาวคือ ประชาชนจะตองชวยกันรวมมือกันในการเปนผูกระทําการพัฒนาตนเอง มิใชเปนแตเพียงผูรับการพัฒนาเทานั้น ทั้งนี้ เพราะผูกระทําการพัฒนาเปนผูไดรับผลโดยตรงจากการพัฒนา คือ การพัฒนาตนเองไปดวย นอกเหนือไปจากการทําใหเกิดการพัฒนาอยางกวางในชุมชนนั้น (นิรันดร จงวุฒิเวศน, 2537: 182)

2.1.1 ความหมายของการมีสวนรวมSummers ( 1992: 433) จากหนังสือเรื่อง Longman Active Study Dictionary of English

ใหความหมายของการมีสวนรวม (Participation) วา หมายถึง การเขาไปเปนสวนหนึ่ง หรือมีสวนเกี่ยวของ หรือสวนรวมในกิจกรรมหนึ่ง หรือเหตุหารใดเหตุการณหนึ่ง

Page 15: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

6

การมีสวนรวม หมายถึง การมีสวนรวมของประชาชนเปนรูปแบบหนึ่งของแนวความคิดในการกระจายอํานาจจากสวนกลางมาสูสวนทองถิ่น เพราะประชาชนในทองถิ่น คือคนที่รูปญหาและความตองการของทองถิ่นตนเองดีกวาผูอื่น (กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2543: 1)

การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดรับรูขอมูลเกี่ยวกับภารกิจ หรือโครงการที่สวนราชการจะดําเนินการ ซึ่งมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูโดยปกติของประชาชนนั้น การทําความเขาใจถึงผลกระทบ และแนวทางการแกไขที่สวนราชการจะดําเนินการ และการปรึกษาหารือรวมกันระหวางภาครัฐและภาคประชาชน โดยใหประชาชนแสดงความคิดเห็น และรัฐตองรับฟงและแกไขปญหาจนประชาชาชนเกิดความพึงพอใจ และมีสวนรวมในการผลักดันใหภารกิจหรือโครงการนั้นเกิดผลสําเร็จ เพราะเห็นวาจะเกิดประโยชนสุขแกประชาชน (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 2546: 9)

William (1980: 230) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวม หมายถึง การแบงปนอํานาจระหวางพนักงาน(หรือตัวแทนพนักงาน) กับผูจัดการในการรวมตัดสินใจ

Creighton (2005: 3)ใหความหมายของคําวา การมีสวนรวมของประชาชน คือ กระบวนการที่เกี่ยวของกับความตองการและคานิยมของประชาชน ซึ่งถูกรวมเขาไวในการปกครองและรวมมือกันในการตัดสินใจ การมีสวนรวมของประชาชนเปนการติดตอสื่อสารและมีปฏิบัติสัมพันธแบบสองทาง โดยมีเปาหมายรวม คือ การตัดสินใจที่ดีกวาโดยการสนับสนุนของประชาชน การมีสวนรวมมีองคประกอบดังนี้

1. การมีสวนรวมของประชาชนที่ประยุกตใชกับการตัดสินใจของฝายบริหารเปนการตัดสินใจโดยตัวแทน หรือบางครั้งโดยองคกรเอกชนซึ่งไมใชเจาหนาที่ที่มาจากการเลือกตั้งหรือ ผูพิพากษา

2. การมีสวนรวมของประชาชนไมใชการจัดเตรียมขอมูลสําหรับประชาชน การมีสวนรวมของประชาชนเปนการปฏิบัติสัมพันธระหวางหนวยงานที่ทําหนาที่ในการตัดสินใจกับประชาชนที่ตองการมีสวนรวม

3. การมีสวนรวมของประชาชนเปนการจัดกระบวนการเพื่อการนําประชาชนเขารวม ไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หรือไมไดตั้งใจ

4. ผูมีสวนรวมมีผลกระทบในบางระดับหรือมีอิทธิพลในเรื่องที่ไดทําการตัดสินใจFung (2006: 66) จากมหาวิทยาลัย Harvard University เสนอกรอบแนวคิด เกี่ยวกับการ

มีสวนรวมของประชาชนไวในบทความเรื่อง Varieties of Participation in Complex Governance โดยอธิบายถึงกลไกการมีสวนรวมที่ผันแปรตามมิติที่สําคัญ 3 มิติ ไดแก (1) ใครมีสวนรวม (2) ผูมี

Page 16: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

7

สวนรวมติดตอสื่อสารระหวางกันและตัดสินใจรวมกันอยางไร และ(3) การปรึกษาหารือเชื่อมโยงไปยังนโยบาย และการกระทําของประชาชนไดอยางไร ซึ่งมิติทั้ง 3 นี้ กอตัวขึ้นเปนที่วางสําหรับใหกลไกการมีสวนรวมตางๆสามารถตั้งอยูได ขอบเขตที่แตกตางกันของพื้นที่วาง ซึ่งถูกออกแบบโดยสถาบันเปนสิ่งที่มีความเหมาะสมมากบางนอยบางในการแสดงความสําคัญของปญหาการบริหารประเทศแบบประชาธิปไตย เชน ความถูกตองตามกฎหมาย ความยุติธรรม และการบริหารที่มีประสิทธิภาพ

เฉลิม เกิดโมลี (2543) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การที่ประชาชนไดใชคุณสมบัติสวนตัวดานความคิด ความรู ความสามารถ แรงงาน ตลอดจนทรัพยากรที่มีอยูเขาไปมีสวนเกี่ยวของในขั้นตอนตางๆ ของกิจกรรมสวนรวม

ประเวศ วะสี (2534: 22) กลาวคือ การมีสวนรวมของประชาชนเปนความคิดริเริ่มของทองถิ่นในการทําใหเกิดการจัดองคการและเกิดปรากฎการณขึ้นของผูนําธรรมชาติ ผูนําชุมชน ผูนําที่ทางราชการแตงตั้งอาจจะไมใชผูนําจริงๆ ที่ชาวบานยอมรับนับถือ ซึ่งผูนําทางธรรมชาติอาจจะเปนครู เปนชาวบาน เปนกํานัน เปนผูใหญบาน เปนพระ หรือถึงแมวาจะเปนใครก็แลวแตตามสถานการณซึ่งไมเหมือนกันในแตละแหง นี่คือ การปรากฎขึ้นตามธรรมชาติซึ่งเปนที่มาของการมีสวนรวมของชุมชนเกิดจากการเรียนรูทําใหชุมชนสามารถวิเคราะหปญหาได

วันรักษ มิ่งมณีนาคิน (2531: 11-14) ไดใหความแตกตางระหวางการรวมมือและการมีสวนรวมโดยระบุวาการมีสวนรวมจะตองคูกับความรูสึกเปนเจาของ คนอื่นที่เขามารวมนั้น ถือวาเปนการใหความรวมมือ การมีสวนรวมที่แทจริงของประชาชนจะตองมีสวนรวมในทุกขั้นตอน อันไดแก การศึกษาและวิเคราะหชุมชน การวิเคราะหสาเหตุของปญหาและจัดลําดับความสําคัญของปญหา การเลือกวิธีและวางแผนในการแกไขปญหา การดําเนินงานตามแผน และขั้นสุดทายคือ การติดตามประเมินผล

ทนงศักดิ์ คุมไขน้ํา(2540: 93) ใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนวาครอบคลุมตั้งแตเริ่มตนของการวางแผนไปจนถึงการลงมือปฏิบัติตามแผนและการประเมินผล นั่นคือ การวางแผนโครงการใดๆ ก็ตามจะตองเริ่มตนดวยการปรึกษาหรือรวมกันเพื่อวิเคราะหหรือชี้วัด ตัวปญหาใหไดและประชาชนจะตองมารวมกันจัดลําดับความสําคัญของปญหา วิธีการแกไขปญหาที่พวกเขาเห็นวาเปนไปได จนถึงการลงมือปฏิบัติและการประเมินผล ซึ่งการที่ประชาชนจะกระทําสิ่งนี้ได พวกเขาจะตองไดรับรูหรือเขาใจถึงโครงการและขั้นตอนของการดําเนินงานของรัฐบาลในรูปการสื่อสารหรือสัมพันธภาพสองทางอยางเปดเผย

พรทิพย ตั้งคณานุกูลชัย (2541: 28) สรุปความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนวา หมายถึง การที่ปจเจกบุคคล กลุมคน หรือ องคกรประชาชนไดรวมกันคิดแกไขปญหาการ

Page 17: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

8

ดําเนินการและกิจกรรมในชุมชน โดยรวมวางแผนโครงการ รวมปฏิบัติงานในลักษณะของการเสียสละ แรงงาน บริจาคเงิน วัสดุสิ่งของ รวมแบงบันผลประโยชนและรวมติดตามผลงานดวยความสมัครใจ เพื่อพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดลอม หรือชุมชน ใหบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว

สุชาติ อรุณวุฒิวงศ (2541: 15) ใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การที่ประชาชน กลุมหรือชุมชน ไดพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของตนเองในการจัดการควบคุมการใช และกระจายทรัพยากร หรือปจจัยการผลิตที่มีอยูในสังคมเพื่อประโยชนตอการดํารงชีพทางเศรษฐกิจ และสังคม ตามความจําเปนอยางสมศักดิ์ศรี ในฐานะสมาชิกของสังคมและในการมีสวนรวมนั้นประชาชนไดพัฒนาการรับรู และภูมิปญญา ซึ่งแสดงออกในรูปของการตัดสินใจ การกําหนดชีวิตของตนเอง

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543: 135)ใหความเห็นวา แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน ความหมายกวางคือ การที่ประชาชนพัฒนาขีดความสามารถของตนในการจัดการควบคุมการใชและกระจายทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนปจจัยการผลิตที่มีอยูในสังคมเพื่อใหเกิดประโยชนตอการดํารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม การมีสวนรวมในความหมายนี้จึงเปนการมีสวนรวมของประชาชนตามแนวทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งเปดโอกาสใหประชาชนพัฒนาการรับรูสติปญญา และความสามารถในการตัดสินใจกําหนดชีวิตดวยตนเอง ดังนั้น การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนทั้งวิธีการ (Means) และเปาหมาย (Ends) ในเวลาเดียวกัน

ชวลิต เกตุมงคลสิทธิ์ (2548: 9) ใหความหมายการมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง วิธีการหรือกิจกรรมที่ประชาชนรวมกันเพื่อเขามาทํางานรวมกับหนวยงานหรือกลุมตางๆ ในรูปแบบการเขารวมจัดการ ตั้งแต การตัดสินใจ การทํางาน การรับผลประโยชน และการติดตามประเมินผล เพื่อเปาหมายที่กําหนดไวประสบความสําเร็จ

นิรันดร จงวุฒิเวศน (2537) ไดใหความหมายของการมีสวนรวม หมายถึง การมีความเกี่ยวของทางดานจิตใจและอารมณ (Mutual and Emotional Involvement) ของบุคคลหนึ่ง ในสถานการณหนึ่ง ในสถานการณกลุม (Group Situation) ซึ่งผลของการเกี่ยวของดังกลาว เปนเหตุเราใจใหกระทําการให บรรลุจุดมุงหมายของกลุมนั้น กับทั้งทําใหเกิดความรูสึกรวมรับผิดชอบกับกลุมดังกลาวดวย

ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์ (2531: 24-25) กลาวถึงการมีสวนรวมของประชาชนวาเปนกระบวนการดําเนินงานรวมพลังประชาชนกับองคกรของรัฐ หรือองคกรชุมชน เพื่อประโยชนในการพัฒนาหรือแกไขปญหาของชุมชน โดยยึดหลักการวา สมาชิกในชุมชนนั้นๆ จะตองรวมมือกันวางแผน เพื่อสนองความตองการหรือการแกไขปญหาของประชาชนในชุมชน

Page 18: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

9

นอกจากนี้ ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์ ยังไดกลาวถึงความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนที่องคการสหประชาชาติใหไว ซึ่งเนนวาตองตีความหมายครองคลุมถึง

1. การที่ประชาชนมีสวนรวมในผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากโครงการพัฒนา2. การที่ประชาชนมีสวนรวมชวยเหลือในการปฏิบัติตามโครงการพัฒนา3. การที่ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจตลอดจนกระบวนการพัฒนาพัชรี สิโรรส (2546: 2) ไดใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนในปจจุบัน คือ

กระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวนรวมไดเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะ แลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็นเพื่อแสวงหาทางเลือก และการตัดสินใจตางๆ เกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเปนที่ยอมรับรวมกันทุกฝายที่เกี่ยวของจึงควรเขารวมในกระบวนการนี้ตั้งแตเริ่มจนกระทั้งถึงการติดตามและประเมินผลเพื่อใหเกิดความเขาใจและการรับรู – เรียนรู การปรับเปลี่ยนโครงการรวมกัน ซึ่งเปนประโยชนตอทุกฝาย

ถวิลวดี บุรีกุลและคณะ (2547: 2-3) กลาววา การมีสวนรวมในชุมชน หมายถึง การที่ประชาชนจะมีทั้งสิทธิ และหนาที่ที่จะเขารวมในการแกไขปญหาของเขา มีความรับผิดชอบมากขึ้นที่จะสํารวจตรวจสอบความจําเปนในเรื่องตางๆ การระดมทรัพยากรทองถิ่น และเสนอแนวทางแกไขใหมๆ เชนเดียวกับการกอตั้งและดํารงรักษาองคกรตางๆ ในทองถ่ิน

อารยา วัฒนกิจ (2526: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของผูปกครองในกิจกรรมของศูนยพัฒนาเด็กในเขตอําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี พบวาระดับรายไดมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในกิจกรรมของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก นั่น คือ ผูปกครองที่มีรายไดสูงจะมีสวนรวมในกิจกรรมศูนยพัฒนาเด็กเล็กมากกวาผูปกครองที่มีรายไดต่ํา

สุเมธ แสงนิ่มนวล (2531: บทคัดยอ) พบวา ปจจัยดานสภาพทางสังคมและความรูความเขาใจ มีผลตอการมีสวนรวมของสมาชิกสหกรณในกิจกรรมหมูบานแบบเคหะบาลโดยสมาชิกสหกรณผูมีระดับความรูความเขาใจสูง จะมีสวนรวมในกิจกรรมหมูบานแบบเคหะบาลมากกวาผูมีระดับความรูความเขาใจต่ํา

2.1.2 ความสําคัญของการมีสวนรวมRamos and Fletcher (1982 อางถึงใน ชินรัตน สมสืบ, 2539: 27) กลาวถึงความสําคัญ

ของการมีสวนรวมของประชาชนคือ1. เปนเครื่องชี้วา การตัดสินใจของรัฐบาลมาจากความตองการของประชาชน2. เพิ่มความรับผิดชอบ และเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบไดของรัฐที่มีตอ

ประชาชน

Page 19: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

10

3. ชวยในการสรางแผนตางๆ ที่ดีกวาเดิม4. เพิ่มความสําเร็จในการปฏิบัติงาน5. สรางการสนับสนุนใหแกหนวยวางแผนธีระพงษ แกวหาวงษ(2543: 55-56)ไดกลาววาการมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญ

ดังนี้1. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาเปนสิทธิขั้นพื้นฐาน และเปนสิทธิ

มนุษยชน ดังนั้น การดําเนินการพัฒนาจึงควรใหประชาชนเขามามีสวนรวม2. การมีสวนรวมของประชาชนชวยใหเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ทําให

ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวยเหตุผล 4 ประการ คือ2.1 การมีสวนรวมในการกําหนดความจําเปนพื้นฐาน ชวยใหกลุมที่ถูกกีดกันทาง

เศรษฐกิจ สังคม ไดมีโอกาสเสนอสิ่งที่ตองการตอผูจัดทํานโยบายการพัฒนาและมีโอกาสไดรับการพัฒนายกระดับฐานะใหสูงขึ้น หลุดพนจากการถูกเอารัดเอาเปรียบ

2.2 การมีสวนรวมของประชาชน ชวยใหรัฐบาลสามารถระดมทรัพยากรในทองถิ่น เชน ความรู ทักษะ บุคคล และแมแตที่ดินและทุนที่ตองใชในการโครงการพัฒนา

2.3 การมีสวนรวมของประชาชนชวยปรับปรุงการกระจายสินคาและบริการตลอดจนการกระจายรายไดใหดีขึ้น และการมีชีวิตสาธารณะที่มีสุขภาพดี

2.4 การมีสวนรวมของประชาชน ชวยสนองความตองการทางจิตวิทยาของประชาชน จากการที่ไดมีอิทธิพลในการตัดสินใจดําเนินงานที่มีผลกระทบตอชีวิตและการงาน 3. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาอยางจริงจังทุกขั้นตอนจะชวยใหประชาชนมีพลังในการตอรองกับกลุมผลประโยชนอื่นๆ ในสังคม

4. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา แสดงถึงนัยการชวยเหลือตนเอง ซึ่งจะนําไปสูความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 5. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา เปนเครื่องมือสงเสริมใหเกิดการยอมรับ การใชความคิดใหม วิธีการใหม หรือนวัตกรรมบางอยาง ซึ่งการยอมรับและการใชหรือสรางนวัตกรรมนี้ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในกระบวนการพัฒนา 6. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา จะทําใหประชาชนสามารถแสดงศักยภาพที่มีอยู และชวยใหไดหนทางแกไขปญหาเชิงนวัตกรรมที่เหมาะสมกับปญหาของชุมชนไดมากกวาการใหบุคคลภายนอกเขามาชวยแกปญหา

Page 20: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

11

2.1.3 รูปแบบและขั้นตอนการมีสวนรวมรูปแบบการมีสวนรวมรูปแบบของการมีสวนรวมนั้น อาจจําแนกได 3 ประการ ตามลักษณะของการมีสวน

รวมดังนี้ (นิรันดร จงวุฒิเวศน, 2527: 188)1. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยตรง (Direct Participation ) โดยผานองคกรจัดตั้งของ

ประชาชน เชน การรวมกลุมของเยาวชนกลุมตางๆ2. การที่ประชาชนมีสวนรวมทางออม (Indirect Participation) โดยผานองคกรผูแทน

ของประชาชน เชน กรรมการของกลุม หรือชุมชน ประธานชุมชน กรรมการหมูบาน3. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยการเปดโอกาสให (Open Participation) โดยผาน

องคกรที่ไมใชผูแทนของประชาชน เชน สถาบันหรือหนวยงานที่เชิญชวนหรือเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมเมื่อไรก็ไดทุกเวลา

Cohen and uphoff (1980: 219-222 อางถึงในประสบสุข ดีอินทร, 2531: 21) ไดแบงการมีสวนรวมออกเปน 4 แบบ คือ

1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision making) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ ริเริ่มตัดสินใจ ดําเนินการตัดสินใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ

2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบดวยการสนับสนุน ดานทรัพยากร การบริหาร และการประสานขอความรวมมือ

3. การมีสวนรวมในผลประโยชน (Benefits) 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation)

ขั้นตอนการมีสวนรวมของประชาชนเจิมศักดิ์ ปนทอง (2547) ไดอธิบายขั้นตอนการมีสวนรวมของประชาชน 4 ขั้นตอน คือ 1. การมีสวนรวมในการคนหาและสาเหตุของปญหาของชาวชนบท ขั้นตอนนี้เปน

ขั้นตอนเริ่มแรกที่สําคัญที่สุด เพราะถาประชาชนยังไมสามารถเขาใจปญหาและสาเหตุของปญหาดวยตนเองของเขาเอง กิจกรรมตางๆ ที่ตามมาก็ไรประโยชนเพราะชาวชนบทจะขาดความเขาใจและมองไมเห็นความสําคัญของกิจกรรมนั้น สิ่งหนึ่งที่แนนอนที่สุดคือ ชาวชนบทเปนผูอยูกับปญหาและรูจักปญหาของตนเองดีที่สุด แตมนุษยยอมจะตองมองปญหาของตนไมชัดเจนจนกวาจะมีเพื่อนมาชวยใหตนวิเคราะหถึงปญหา และสาเหตุของปญหาของตนไดเดนชัดยิ่งขึ้น

2. การมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินกิจกรรม การวางแผนดําเนินกิจกรรม เปนขั้นตอนตอไปที่ขาดไมได เพราะถาหาดเจาหนาที่หรือนักพัฒนาตองการเพียงแตผลงานการพัฒนา

Page 21: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

12

วัตถุใหเสร็จสิ้นโดยฉับไว ก็จะดําเนินกิจกรรมการวางแผนงานเสียดวยตนเอง ผลที่ตามมาก็คือตอไปเมื่อขาดเจาหนาที่ชาวชนบทก็ไมสามารถจะดําเนินการวางแผนไดดวยตนเอง อาจจะมีความยากลําบากที่ผลักดันใหเจาหนาที่หรือนักพัฒนาทําหนาที่เปนเพียงเพื่อนของชาวชนบทในการชวยกันวางแผนงาน เพราะชาวชนบททั่วๆไป มีการศึกษานอยแตถาเราไมใหชาวชนบทไดมีสวนรวมในขั้นตอนนี้ โอกาสที่ชาวชนบทจะไดรับการศึกษาและพัฒนาตนเองในการวางแผนงานดําเนินงานก็หมดไป เจาหนาที่หรือนักพัฒนาจะตองทําใจใหไดวาการศึกษาใดก็ตามตองเริ่มจากความยากงาย เร็ว ชา จากระดับที่ผูจะรับการศึกษามิใชจากระดับความรู ความสามารถของตนเอง

3. การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน ชาวชนบทมีทรัพยากรที่สามารถเขามามีสวนรวมในการลงทุนและการปฏิบัติงานได เพราะจากประสบการณทํางานชนบทอยางนอยชาวชนบทมีแรงงานของตนเปนขั้นต่ําที่สุดที่สามารถจะเขารวมไดในหลายๆแหง และรวมลงทุนใหกับตนเองในการดําเนินงาน และจะระมัดระวังรักษากิจกรรมที่ทําขึ้นเพราะเขาจะมีความรูสึกรวมเปนเจาของ นอกจากนั้นการรวมปฏิบัติงานดวยตนเองไดเรียนรูการดําเนินกิจกรรมอยางใกลชิดและเมื่อเห็นประโยชนก็จะสามารถดําเนินกิจกรรมชนิดนั้นดวยตนเองตอไปได

4. การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เปนขั้นตอนสุดทายที่สําคัญอยางยิ่งเพราะถาหากการติดตามงานและการประเมินผลงานจากการมีสวนรวมของชาวชนบทจะทําใหชาวชนบทประเมินตนเองวางานที่ทําไปนั้นไดรับผลดี ไดรับประโยชนหรือไมอยางใด ซึ่งจะเปนประโยชนตอการดําเนินกิจกรรมอยางเดียวกันในโอกาสตอๆไป

ซึ่งสอดคลองกับอคิน รพีพัฒน (2527: 101)ไดแบงขั้นตอนการมีสวนรวมของคนในชุมชนออกเปน 4 ขั้นตอนคือ

1. การคนหาปญหา สาเหตุของปญหาตลอดจนแนวทางแกไข2. การตัดสินใจเลือกแนวทางและวางแผนพัฒนาแกไขปญหา3. การปฏิบัติงานในกิจกรรมการพัฒนาตามแผน4. การประเมินผลงานกิจกรรมการพัฒนา

องคการอนามัยโลก (WHO, 1978: 41-49 อางถึงใน บุญมี รัตนะพันธุ, 2543) ไดเสนอรูปแบบที่สมบูรณของกระบวนการมีสวนรวมไว 4 ขั้นตอนคือ

1. การวางแผน (Planning) ประชาชนตองมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหาจัดลําดับความสําคัญ ตั้งเปาหมาย กําหนดการใชทรัพยากร กําหนดวีติดตามประเมินผลและประการสําคัญ คือการตัดสินใจดวย

Page 22: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

13

2. การดําเนินกิจกรรม (Implementation) ประชาชนตองมีสวนรวมในการจัดการและบริหารการใชทรัพยากร มีความรับผิดชอบในการจัดสรรควบคุมทางการเงินและการบริหาร

3. การใชประโยชน (Utilization) ประชาชนตองมีความสามารถในการนําเอากิจกรรมมาใชใหเกิดประโยชนได ซึ่ง เปนการเพิ่มระดับของการพึ่งตนเองและควบคุมทางการเงินและการบริหาร

4. การไดรับประโยชน (Obtaining) ประชาชนตองไดรับการแจกจายผลประโยชนจากชุมชนในพื้นฐานที่เทาเทียมกัน ซึ่งจะเปนผลประโยชนสวนในสังคม หรือในรูปวัตถุก็ได

แรม พี. ยาดาฟ (Yadav,1979: 3 พึ่งอางถึง) ไดจําแนกการมีสวนรวมของประชาชนออกเปน 4 ขั้นตอน คือ

1. การเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision Making) 2. การเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินโครงการและแผนงาน (Implementation)3. การเขาไปมีสวนรวมในการควบคุมและประเมินโครงการและการพัฒนา(Evaluation)4. การเขาไปมีสวนรวมในการรับผลประโยชนของการพัฒนา (Benefit)

สุนีย มัลลิกะมาลย และคณะ (2543: 17-18) กลาววาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะนั้น มีกระบวนการดังนี้

1. รวมรับรู หมายถึง รับรูสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตน รับรูถึงวิธีการจัดการเพื่อแกไขปญหา ลดผลกระทบของปญหาและปองกันปญหา ซึ่งในกระบวนการนี้ สื่อขอมูลขาวสาร วิธีการเผยแพร หรือเขาถึงขอมูลขาวสาร และแหลงขอมูลขาวสารยอมเปนสวนสําคัญที่ผูเกี่ยวของสมควรจะไดคํานึงถึง เพราะการใหประชาชนไดเขารวมรับรูยอมนํามาซึ่งความตระหนักในปญหาเพื่อจะไดพิจารณาวาตนเองจะเขาไปมีสวนรวมดวยวิธีใดไดบางตามที่เหมาะสม

2. รวมคิดและแสดงความคิดเห็น เปนผลสืบเนื่องมาจากการรับรูขอมูล เมื่อประชาชนเกิดความตระหนักแลวยอมเปนชองทางที่จะใหประชาชนเขามามีสวนรวมคิดและแสดงความคิดเห็นถึงวิธีการที่จะนําไปสูหารแกไขปรับปรุง ปองกันปญหา การใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนยอมนํามาซึ่งการมีสวนรวมในขั้นตอนตอไป

3. รวมดําเนินการ เมื่อวิธีการที่จะนําไปสูการแกไขปรับปรุงและปองกันปญหาเกิดจากการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน ก็เทากับเปนการยอมรับของพวกเขา ดังนั้น หากจะตองใหพวกเขาเขารวมดําเนินการตามกิจกรรมที่ไดมาแลว ความเปนไดยอมมีมาก

Page 23: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

14

4. รวมติดตามตรวจสอบ ความเขมแข็งและความตอเนื่องในการดําเนินการยอมตองอาศัยปจจัยความรวมมือของประชาชนในชุมชน ทําการติดตามและตรวจสอบวา ในการดําเนินการนั้นมีปจจัยใดบางที่จะเปนปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการ เพื่อจะไดแกไขไดทันทวงที

5. รวมรับผิดชอบ ความสําเร็จและความลมเหลวของกิจกรรมหรือโครงการยอมขึ้นอยูกับความรวมรับผิดชอบของประชาชนในชุมชน มิใชเปนของผูริเริ่มโครงการหรือผูนําชุมชน การยอมที่จะมีสวนรวมรับผิดชอบยอมสะทอนถึงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนในทุกระดับที่กลาวมา

6. รวมขยายผล การจัดการขยะเปนตัวอยางที่เห็นไดชัดวา หากชุมชนใดมีการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพแลว และไดมีการชักชวนดวยวิธีการใดๆ ก็ตาม รวมถึงการชวยเหลือในการจัดการขยะของชุมชนอื่นๆ ยอมนํามาซึ่งการขยายผลของการจัดการขยะใหขยายวงกวางไกลออกไปซึ่งชุมชนมีการจัดการขยะอยางถูกวิธีมากชุมชนใด ยอมสงผลดีตอการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมไดมากเทานั้น

จากแนวคิดในเรื่องลักษณะการมีสวนรวมของประชาชนดังกลาว ผูศึกษาเห็นวาแนวคิดของ เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527) และแนวคิดของอคิน รพีพัฒน (2527) เปนแนวคิดที่สอดคลองกับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน จําแนกการมีสวนรวมออกเปน 4 ลักษณะ คือ

1. รวมคนหาและสาเหตุของปญหา2. รวมวางแผนและแกไขปญหา3. รวมปฏิบัติงานตามแผน4. รวมติดตามและประเมินผลกลาวโดยสรุป การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการที่สงเสริม ชักนํา สนับสนุน และ

เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินงาน รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมรับผิดชอบ สละเวลา แรงงาน วัสดุ และอื่นๆ ในกิจกรรมการพัฒนาที่จะมีผลกระทบมาถึงตัว เพื่อแกไขนํามาซึ่งสภาพความเปนอยูของประชาชนที่เกิดขึ้น และนําไปสูความรวมมือแหงการดํารงชีวิตในสังคมเดียวกัน

การพัฒนาแบบมีสวนรวม เปนกระบวนการใหประชาชนไดเขามามีสวนในการคิดและการตัดสินใจ เพื่อแกไขปญหาของตนเองและสวนรวมอยางแข็งขัน โดยอาศัยความคิดและความชํานาญของประชาชนและจากการมีสวนรวมของประชาชนในทุกชุมชนนั้นก็จะทําใหเกิดปรากฎการณของผูนําตามธรรมชาติและเกิดการเรียนรู ทําใหสามารถวิเคราะหปญหาของการรวมลงมือปฏิบัติและติดตามประเมินผลใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่วางไว

Page 24: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

15

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผล2.2.1 ความหมายของคําวาประสิทธิผล

คําวาประสิทธิผล (Effectiveness) มีนักวิชาการหลายทานไดนิยามและใหความหมายของประสิทธิผล (Effectiveness) ไวดังนี้

พิทยา บวรวัฒนา (2531) กลาววาประสิทธิผลขององคการเปนเรื่องของการพิจารณาวาองคการประสบความสําเร็จเพียงใดในการดําเนินงาน เพื่อใหบรรลุเปาหมายหรือสภาพขององคการที่ตั้งไวหรือปรารถนาใหบังเกิดขึ้น

อุทัย หิรัญโต (2537) กลาวถึงคําวา “ประสิทธิผล” หมายถึงผลสําเร็จของการบริหารที่บรรลุถึงเปาหมายตามที่กําหนดไวซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานที่ไมมีประสิทธิภาพก็ได เพราะประสิทธิผลเพียงแตพิจารณาถึงผลงานที่ไดรับเทานั้น ลักษณะการบริหารที่มีประสิทธิผลคือบรรลุเปาหมาย ตาการบริหารที่มีประสิทธิภาพ คือการใชทรัพยากรการบริหารอยางประหยัดเกิดผลรวดเร็วโดยการนําเวลาเขามาพิจารณาดวย

ประพันธ สุริหาร (2533) ไดใหความหมายของประสิทธิผลวา ประสิทธิผล หมายถึงการพิจารณาผลของการทํางานที่สําเร็จ ตามความคาดหมายไว ความสําเร็จของงานอยางมีประสิทธิผลนั้น อาจเกิดจากการปฏิบัติงานที่ไมประหยัด หรือไมมีประสิทธิภาพก็ได เพราะประสิทธิภาพเปนเรื่องของการทํางาน งานใหไดผลสูงสุด สวนประสิทธิผลเปนเรื่องของการที่เอาผลงานที่สําเร็จดังที่คาดหวังมาพิจารณา ดังนั้นงานที่มีประสิทธิผลจึงไมจําเปนตองมีประสิทธิภาพเสมอไป

ติน ปรัชญพฤทธิ์ (2537) ประสิทธิผล หมายถึง ระดับคนที่สามารถปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายไดมากนอยเพียงใด ในบทความเดียวกันนี้

ธงชัย สันติวงษ (2541) ประสิทธิผล หมายถึง ความสําเร็จในการที่สามารถดําเนินกิจการกาวหนาไป และสามารถบรรลุเปาหมายตางๆ ที่องคการตั้งไว

Reddin (1971) ไดนิยามประสิทธิผลวา “ Effectiveness is the Extent to which a Manager Achieves the Output Requirements of his Position” นั่นคือประสิทธิผลเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการกระทํา ของผูบริหารใหผลงานนั้นบรรลุผลสําเร็จตามความคาดหมาย งานของนักบริหารจะตองเนนอยูที่ประสิทธิผลคือจะตองทํางานใหไดผล ประสิทธิผลการบริหารหรือการจัดการมีสวนสัมพันธกับผลงานหรือผลผลิตที่นักบริหารไดกระทํา ในสถานการณหนึ่ง โดยใชวิธีการปฏิบัติงานที่ เหมาะสมเพื่อใหไดผลงานมากขึ้นเรื่อยๆ หรือใหไดผลงานมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได

Page 25: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

16

Price (1968) ไดใหความหมายของคําวา ประสิทธิผล คือ ความสามารถในการดําเนินการใหเกิดผลตามเปาหมายที่ตั้งไว โดยมีตัวบงชี้

ดังนั้นจึงสรุปไดวาประสิทธิผล คือกระบวนการทํางานที่ทําใหเกิดผลลัพธตามเปาหมายหรือนโยบายที่กําหนดไว

2.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการศึกษาของอุษณี มงคลพิทักษสุข (2551) เกี่ยวกับแนวทางในการวัดประสิทธิผล

องคการในระยะแรกจะใชเพียงเกณฑใดเกณฑหนึ่งเพียงอยางเดียว ซึ่งเรียกวา “การวัดประสิทธิผลเชิงเดี่ยว (Univariate Effectiveness Measure)” เพื่อแสวงหาเกณฑที่เหมาะสมที่สุด การใชตัวแปรหรือเกณฑเพียงตัวเดียวเพื่อวัดประสิทธิผล ไดกอใหเกิดปญหาหลายประการ กลาวคือ เกณฑแตละเกณฑยังไมสามารถยอมรับไดวากวางขวางเพียงพอที่จะวัดประสิทธิผลองคการทั้งหมดได ขณะเดียวกันแมจะนําเกณฑเหลานี้มาใชรวมกัน ก็ยังไมอาจอธิบายไดวาการวัดนั้นมีความถูกตอง เนื่องจากแตละเกณฑก็มีมุมมองหรือแนวคิดแตกตางกันไป การนําปญหาความตอเนื่องของคุณลักษณะตัวแปร มีความใกลเคียงกันมากจนยากแกการแยกแยะ เชน เกณฑบางเกณฑอาจเปนไดทั้งเปาหมาย และวิธีการ การเลือกใชความหมายใดเปนเกณฑวัดประสิทธิผลขององคการ จึงขึ้นอยูกับการตัดสินใจใหคุณคาของ แตละบุคคล

จากสภาพปญหาดังกลาว ทําใหการวัดประสิทธิผลขององคการลําพังเพียงเกณฑเดียว จึงไมเปนที่นิยมอีกตอไป นักวิชาการอีกกลุมหนึ่งจึงเสนอใหใชเกณฑหลายเกณฑเปนเครื่องมือวัดประสิทธิผล ดวยการสรางตัวแบบจากฐานคติ หรือ สมมติฐานที่กําหนดขึ้น แลวนําไปทดสอบเพื่อหาความสัมพันธระหวางตัวแปรกับประสิทธิผลขององคการ จากการทบทวนวรรณกรรมพบวาตัวแบบที่นิยมนํามาใชวัดประสิทธิผลขององคการ มีจํานวนทั้งสิ้น 5 แนวทาง ไดแก (อุษณี มงคลพิทักษสุข, 2551)

1. แนวทางการบรรลุเปาหมาย (The Goal Attainment Approach)จัดเปนแนวทางแรกในการศึกษาประสิทธิผลขององคการ อันมีนิยามวาประสิทธิผล

ขึ้นอยูกับความสามารถขององคการในการบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว ฐานคติเกี่ยวกับแนวทางนี้จึงเปนการพิจารณาองคการในฐานะหนวยงานถูกจัดตั้งขึ้น อันมีเหตุผลและเปาหมายที่แนนอน ดังนั้น ระดับการบรรลุเปาหมายระดับปฏิบัติการที่กําหนดไว เปาหมายเชิงปฏิบัติการนี้ ถูกเชื่อมโยงจากเปาหมายของหนวยงานที่ไดรับการประกาศอยางเปนทางการหรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ การประเมินประสิทธิผลการบรรลุเปาหมาย เปนการวัดผลสําเร็จขึ้นสุดทายของการปฏิบัติงาน ซึ่งเหมาะสมกับองคการที่มีการกําหนดเปาหมายอยางชัดเจนเพียงพอจะสรางความเขาใจ และเห็นพอง

Page 26: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

17

รวมกันของฝายตาง ๆ การนําแนวทางการบรรลุเปาหมายไปใชในการบริหาร แมการประเมินประสิทธิผลขององคการดวยเกณฑดานเปาหมาย จะเปนเครื่องมือสําคัญในการสรางประสิทธิภาพทางการบริหารแกองคการสวนรวม แตการมุงเปาหมายสุดทายเพียงประการเดียวอาจเกิดปญหาการใชทรัพยากรไมคุมคา การขาดความเอาใจใสตอกิจกรรมตาง ๆ ขององคการ ซึ่งกรณีนี้มักมีผลตอขวัญ กําลังใจ และความไมพึงพอใจของพนักงาน ฉะนั้น หากบริหารองคการจะนําแนวทางนี้ไปใชใหเกิดประสิทธิผล ตองตระหนักถึงสมมติฐานสําคัญ 5 ประการ คือ

1) องคการจะตองมีเปาหมายหรือผลลัพธสูงสุด (Ultimate Goal) ที่ตองการบรรลุ2) เปาหมายตองถูกระบุใหชัดเจนและเปนที่เขาใจรวมกัน3) เปาหมายตองมีจํานวนพอเหมาะตอการบริหารจัดการ4) เปาหมายดังกลาวตองไดรับการยอมรับหรือเห็นชอบรวมกันทุกฝาย และ5) เปาหมายตองสามารถวัด (measurable) เพื่อติดตามความกาวหนาได

2. แนวทางเชิงระบบ (The System Approach)แนวทางประสิทธิผลเชิงระบบ เปนแนวทางที่พยายามแกไขขอบกพรองบางประการ

ของแนวทางประสิทธิผลเชิงเปาหมาย ดวยการเพิ่มความสนใจกับเกณฑดานวิธีการที่จะทําใหองคการอยูรอดในระยะยาวไปพรอมกัน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งแนวทางเชิงระบบ จะไมทุมเทจุดสนใจไปที่ผลสําเร็จขั้นสุดทายประการเดียว หากใหความสนใจในกระบวนการหรือขั้นตอนตาง ๆ อันมีผลตอความสําเร็จตามเปาหมายนั้นดวย แนวทางการประเมินประสิทธิผลขององคการเชิงเปาหมายและเชิงระบบจึงไมแตกตางกันมากนัก แทจริงเปนการมองเปาหมายองคการในฐานะที่มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมมากขึ้นนั่นเอง เกี่ยวกับประเด็นนี้ ยืนยันวาในแนวทางเชิงเปาหมายและเชิงระบบตางมีฐานคิดมุงเปาหมายเพื่อประเมินประสิทธิผลขององคการ สวนแนวทางหลังใชกระบวนการหรือวิถีทางเปนมาตรวัด

พื้นฐานความคิดที่สําคัญของแนวทางนี้จึงมาจากทฤษฎีระบบ (System Theory) ที่เปรียบองคการไดกับระบบหนึ่งในสังคม ซึ่งประกอบดวยหนวยยอยตาง ๆ ที่สัมพันธกัน หากสวนใดสวนหนึ่งปฏิบัติหนาที่บกพรองหรือดอยไป ยอมกระทบตอองคการทั้งหมด จากสมมติฐานดังกลาวทําใหนักวิชาการในยุคแรกพิจารณาองคการในฐานะระบบปดที่เปนหนวยงานอิสระและไมเกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมอื่นภายนอก การจัดโครงสรางขององคการเปนไปเพื่อประสิทธิภาพการบริหารงาน ขณะเดียวกันก็มุงเนนความสัมพันธทางสังคมระหวางบุคคลที่อยูภายใน ความสําเร็จขององคการเปนความสัมพันธของกระบวนการภายในตอมาในชวงทศวรรษ 1970 นักวิชาการเริ่มตระหนักวาการดํารงอยูขององคการไมเปนเพียงทําใหกระบวนการภายในมีประสิทธิภาพและสราง

Page 27: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

18

มนุษยสัมพันธเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับการพึ่งพาอาศัยและมีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมภายนอก องคการจึงเปนระบบเปดที่ตองนําเขาทรัพยากรใหออกมาเปนผลผลิต แนวทางการศึกษาประสิทธิผลในชวงนี้จึงมุงแนวทางเชิงระบบทรัพยากรแบงออกไดเปน 2 แนวทางยอย คือ

2.1 แนวทางกระบวนการภายใน (Internal Process Approach) เนื่องจากการพิจารณาองคการเปนระบบปด ประสิทธิผลขององคการตามแนวทางระบบภายในจึงหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานสวนยอยขององคการทั้งหมดเขาดวยกัน เพื่อมิใหการทํางานแตละสวนเกิดความขัดแยง โดยเฉพาะอยางยิ่งระหวางเปาหมายของบุคคลและเปาหมายขององคการ กลาวอีกนัยหนึ่ง การประเมินประสิทธิผลองคการจะตองคํานึงถึงการบรรลุเปาหมาย และความสามารถในการธํารงรักษาซึ่งความเปนอยูขององคการไปพรอมกัน

ภายใตแนวคิดนี้ มาตรวัดประสิทธิผลตามแนวทางกระบวนการภายในประกอบดวยเกณฑสําคัญ 2 เกณฑ คือ

1) เกณฑประสิทธิภาพ (Efficiency) ที่การบรรลุเปาหมายวัดจากการเปรียบเทียบอัตราสวนระหวางผลผลิตกับปจจัยนําเขา การแปรสภาพกับปจจัยนําเขา และการแปรสภาพกับผลผลิต

2) เกณฑสุขภาพที่ดีขององคการ (Healthy Organization) ไดแก ระบบการทํางานที่ราบรื่น มีการไหลเวียนของขอมูลขาวสารทั้งแนวตั้งและแนวนอน การใหคุณคาความสําคัญตอพนักงานในฐานะทรัพยากรมนุษย และการสรางความสุขความพึงพอใจในการทํางานตามแนวคิดวาดวยมนุษยสัมพันธ

2.2 แนวทางเชิงระบบทรัพยากร (The System Resource Approach)ฐานคติของแนวทางระบบทรัพยากรมององคการในฐานะระบบที่ซับซอน

ประกอบดวยความสัมพันธของพฤติกรรมทั้งภายในและภายนอกองคการ หนาที่ของผูบริหาร คือ การสนองตอบขอเรียกรอง อันเกิดจากสภาวการณที่แวดลอมองคการอยู ประสิทธิผลขององคการจึงวัดไดจากการสรางความสัมพันธอันดีกับสภาพแวดลอมภายนอก เพื่อความอยูรอดขององคการ ประสิทธิผลขององคการจึงไมอาจพิจารณาเพียงเกณฑผลสําเร็จขั้นสุดทายเทานั้น แตตองพิจารณาถึงกระบวนการดําเนินงานที่เชื่อมโยงระบบตางๆเขาดวยกัน โดยเฉพาะการจัดหาหรือนําเขาทรัพยากรจากภายนอกเพื่อเปลี่ยนสภาพใหเปนผลผลิตหรือบริการ เปาหมายแนวทางเชิงระบบทรัพยากรจึงอยูที่ตําแหนงการตอรอง หรือความสามารถในการไดมาซึ่งทรัพยากรที่มีคา และหายากจากสภาพแสดลอมที่เกิดจากการเปรียบเทียบระหวางองคการในรูปของการแขงขัน กลาวคือ องคการที่มีประสิทธิผลยอมสามารถจัดหาและใชประโยชนทรัพยากรจากสิ่งแวดลอม มิใหเกิด

Page 28: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

19

ภาวะขาดแคลนในอนาคตมากกวาองคการอื่น เพื่อเสถียรภาพและคงอยูขององคการ ซึ่งจะทําไดอยางชัดแจงเมื่อแขงขันในทรัพยากรอยางเดียวกัน

แนวทางระบบทรัพยากรจึงมีจุดเดน เพราะไมมุงความสนใจไปยังผลสําเร็จสุดทายซึ่งเปนการวัดเปาหมายระยะสั้นเทานั้น แตยังคงพิจารณากระบวนตางๆขององคการทั้งระบบ เชน การจัดหา การครอบครองและการใชประโยชนจากทรัพยากร การธํารงไวซึ่งกิจกรรมที่เปนงานประจําภายในองคการ ดวยการทดแทนและปรับปรุงสวนตางๆใหพรอมปฏิบัติงานตลอดรวมถึงปฏิสัมพันธและการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมภายนอกที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จตามเปาหมายขององคการดวย

3. แนวทางกลยุทธกลุมตัวแทนหรือแนวทางกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย (The Strategic Constituencies or the Stakeholder Approach)

แนวทางกลยุทธกลุมตัวแทน จัดเปนการศึกษาประสิทธิผลขององคการแนวใหม ซึ่งไดรับความนิยมมาตั้งแตชวงป ค.ศ.1970 ตามฐานคติจากแนวคิด “กิจกรรมทางการเมือง (Political Arena)” กลาวคือ ประสิทธิผลขององคการวัดไดจากความสามารถในการสรางความพึงพอใจตอเปาหมายของกลุมตัวแทนตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองคการ โดยทั่วไปแลวกลุมตัวแทนหรือกลุมมีมีสวนไดเสียจะมีสวนรวมในองคการ หากตระหนักแลววาสิ่งจูงใจที่ตนไดรับมีคุณคามากพอตอการลงทุนหรือการปฏิบัติงาน แนวทางนี้จึงพิจารณาองคการในฐานะระบบภายใตสภาพแวดลอม ที่ประกอบดวยการรวมตัวของกลุมอิทธิพล อันมีผลตอการปฏิบัติหนาที่ขององคการ ความอยูรอดขององคการจึงขึ้นอยูกับการควบคุมหรือสนับสนุนจากกลุมตาง ๆ เหลานี้โดยตรง

จากสมมติฐานดังกลาว แนวทางกลยุทธกลุมตัวแทนจึงเปนการผสมผสานแนวทางวัดประสิทธิผลสองแนวทางแรกที่นําเสนอกอนหนานี้ โดยแกไขจุดดอยของแนวทางการบรรลุเปาหมาย กลาวคือ การมุงผลลัพธขององคการจากเปาหมายของผูบริหารประการเดียวไมเพียงพอตอการประเมิน เนื่องจากองคการจัดเปนระบบหนึ่งที่ประกอบดวยกลุมบุคคลตาง ๆ เชน เจาของ ผูบริหาร ลูกจาง พนักงาน ลูกคา ผูใชบริการ หรือ รัฐบาล ฯลฯ เขามามีปฏิสัมพันธดวยเหตุผลที่ตางกัน จึงเปนหนาที่ขององคการในการสนองตอบตอความคาดหวังและความตองการของกลุมตัวแทนเหลานี้ พรอมกับเพิ่มมุมมองแนวทางเชิงระบบทรัพยากรใหมีความซับซอนมากไปกวาสนใจเพียงการตอรองและการจัดหาทรัพยากร ดวยการเชื่อมโยงกลุมตัวแทนทั้งภายในและภายนอกเขาดวยกัน ในฐานะแหลงทรัพยากรที่มีคุณคาและความสําคัญตอองคการ ฐานคติเชนนี้ทําใหแนวทางกลยุทธกลุมตัวแทน มีขอบเขตในการประเมินประสิทธิผลกวางขวางมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ

Page 29: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

20

ทําใหการกําหนดเปาหมายขององคการมีความหลากหลาย เปนที่ยอมรับจากกลุมตาง ๆ การประเมินประสิทธิผลดวยแนวทางกลยุทธกลุมตัวแทน จึงเปนเรื่องการประเมินองคการในมุมกวาง และเชื่อวาประสิทธิผลเปนเรื่องสลับซับซอน ซึ่งตองใหความสนใจทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการผลิต ไปพรอมกับปจจัยดานความพึงพอใจของผูไดรับผลประโยชนจากองคการ Cameron and Quinn (1980) ยืนยันวาวิธีการวัดประสิทธิผลตามแนวทางนี้ จะมีคุณประโยชนอยางมาก หากผูมีสวนไดสวนเสียภายนอกเปนผูมีอิทธิพลเชิงอํานาจตอองคการ (อุษณี มงคลพิทักษสุข, 2551)

4. แนวทางแขงขันดานคานิยม (The Competing – Value Approach) จากการศึกษาของอุษณี มงคลพิทักษสุข (2551: 85) ไดกลาวถึงการวัดประสิทธิผลตามแนวทางการแขงขันดานคานิยม ดังนี้ ในการสรางแนวทางการแขงขันของคานิยม หรือที่เรียกกันในภาษาอังกฤษวาCompeting Values Approach หรือบางครั้งก็เรียกวา Competing Values Framework (CVF) ของQuinn และ Rohrbaugh (1983) ในขณะนั้น เริ่มตนดวยแนวคิดของ Steers (1975) และ Campbell(1977) ที่ไดเสนอแนะแนวทางในการสรางตัวแบบเชิงบูรณาการไววา ในขั้นแรก ควรที่จะกําหนดตัวแปรทั้งหมดที่คาดวาจะเปนตัววัดประสิทธิผล หลังจากนั้น ก็ใหทําการศึกษาวาตัวแปรเหลานั้นมีความสัมพันธที่เหมือนกัน (Similarly Related) อยางไร ดวยเหตุนี้ Quinn และ Rohrbaugh จึงเริ่มตนดวยการนําตัวแปรดานประสิทธิผลองคการที่ Campbell (1977) ไดศึกษาและรวบรวมขึ้นจํานวน 30 ตัวแปรมาทําการศึกษาอยางเปนระบบและเปนรูปธรรม

Quinn and Rohrbaugh (1983) เปนนักวิชาการสองทานแรกที่บูรณาการแนวทางการแขงขันดานคานิยมเพื่อใชวัดประสิทธิผลขององคการ โดยมีเกณฑชี้วัดอันประกอบดวย 2 มิติหลัก คือ

1) จุดมุงเนน (focus) เกี่ยวกับสภาพแวดลอมภายในกับภายนอกเขตองคการ (Internal VS External) ที่มีสภาพแวดลอมภายในเปนเรื่องการสรางความเปนอยู และการพัฒนาบุคลากร สวนสภาพแวดลอมภายนอกเปนการใหคุณคากับสภาพแวดลอมรอบองคการ (People VS Organization)

2) โครงสรางองคการ (Organization Structure) ที่มีความยืดหยุนกับมีลักษณะคงที่ (Flexibility VS Stability) แลวจึงนํามาจัดความสัมพันธในตาราง โดยใหแนวนอนเปนมิติดานจุดมุงเนนและแนวตั้งเปนมิติดานโครงสราง

ทั้งสองมิติหลักนี้แบงเปนตัวแบบการวัดประสิทธิผลขององคการได 4 รูปแบบ คือ1. ตัวแบบระบบเปด (Open System Model)2. ตัวแบบเปาหมายเชิงเหตุผล (Rational Goal Model)3. ตัวแบบดานมนุษยสัมพันธ (Human Relations Model)

Page 30: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

21

4. ตัวแบบกระบวนการภายในองคการ (Internal Process Model)ซึ่งภายใน 4 รูปแบบดังกลาว เกณฑหรือตัวชี้วัดเพื่อประเมินประสิทธิผลมี 2 เปาหมาย

คือ เปาหมายพื้นฐาน (Primary Goals) และเปาหมายรอง (Sub Goals) ที่ตอมาทั้งสองเปาหมายไดถูกพัฒนาใหเปนอีกหนึ่งมิติ แลวเรียกเปาหมายพื้นฐานวาเกณฑมุงจุดหมายที่เปนผลลัพธและเปนเปาหมายระยะสั้น กับการมุงวิถีทางกระบวนการภายในและเปนเปาหมายในระยะยาว (Ends VS Means) ทําใหเกณฑที่ใชในการประเมินตามแนวทางการแขงขันดานคานิยมมีสามมิติดวยกัน คือ

1) มิติดานสภาพแวดลอมท่ีมุงคน -องคการ2) มิติดานโครงสรางองคการแบบคงที่ - ยืดหยุน3) มิติดานจุดมุงหมาย - วิถีทาง ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

1. ตัวแบบระบบเปด (Open system Model) ตัวแบบระบบเปด สะทอนใหเห็นถึงการผสมผสานระหวางคานิยมดานจุดมุงเนนของสภาพแวดลอมภายนอก (External Focus) และโครงสรางแบบยืดหยุน (Flexibility Structure) ซึ่งเหมาะกับองคการที่เพิ่งเริ่มกอตัว จุดมุงหมายที่เปนผลลัพธขององคการ (Ends) คือ

1.1 การเจริญเติบโต (Growth)1.2 การจัดหาทรัพยากร (Resource Acquisition) โดยมุงกระบวนการทํางานที่

มีความยืดหยุน (Flexibility) ความพรอม (Readiness) 1.3 การประเมินผลจากภายนอกในลักษณะที่เปนบวก (Positive External

Evaluation) เพื่อเอื้อตอการบรรลุผลลัพธสุดทายหรือเปาหมายหลัก คานิยมที่มีอิทธิพล (Dominant Value) ตอตัวแบบนี้คือการสรางสัมพันธภาพที่ดีและสภาพแวดลอม เพื่อใหไดทรัพยากรและทําใหองคการเจริญเติบโต ตัวแบบระบบเปดจึงคลายกับประสิทธิผลองคการตามแนวทางเชิงระบบทรัพยากร (The System Resource Approach)

2. ตัวนิยมดานเปาหมายเชิงเหตุผล (Rational Goal Model) เปนตัวแบบที่ผสมผสานระหวางคานิยมดานองคการหรือสภาพแวดลอมภายนอก (External focus) กับโครงสรางแบบคงที่ (Structural Stability) โดยมีเปาหมายสุดทายอยูที่ผลิตภาพ (Productivity) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และ ผลกําไร (Profit) สวนเปาหมายดานกระบวนการก็จะใชเครื่องมือที่มีความเปนเหตุเปนผลทางการบริหาร ไดแก การวางแผน (Planning) และ การกําหนดเปาหมาย (Goal Setting) เพื่อใหเปนเปาหมายพื้นฐานหรือผลลัพธสุดทายบรรลุผลสําเร็จ ตัวแบบนี้อาจเปรียบไดกับแนวทางประสิทธิผลการบรรลุเปาหมาย (The Goal Attainment Approach) ซึ่งการแขงขันดานคุณคาตามเกณฑเปาหมายเชิงเหตุผล เหมาะกับชวงระยะเวลาที่องคการตองการสรางประสิทธิภาพในการทํางาน จึงจําเปนตองจัดรูปแบบโครงสรางที่เปนแบบแผน มีระเบียบกฎเกณฑที่แนนอน

Page 31: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

22

3. ตัวแบบกระบวนการภายในองคการ (Internal Process Model) ตัวแบบนี้สะทอนถึงคานิยมภายใน (Internal Focus) และความคงที่ของโครงสรางองคการ (Structural Stability) ดังนั้น การวัดเปาหมายจึงเปนการประเมินเกี่ยวกับการสรางเสถียรภาพ (Stability) และการสรางดุลยภาพ (Equilibrium) ขององคการไปพรอมกัน สวนการดํารงอยูภายใตสภาพแวดลอมดังกลาวนั้น องคการตองมุงความสนใจที่ประสิทธิผลของกระบวนการดานการจัดการสารสนเทศ (Information Management) การตัดสินใจ (Decision Making) และ การสื่อสาร (Communication) ไปยังจุดตาง ๆ ภายในองคการอยางทั่วถึงเพียงพอ ตัวแบบประเภทนี้จึงมักนํามาใชในชวงระยะเวลาเดียวกันกับตัวแบบดานเปาหมายเชิงเหตุผล

4. ตัวแบบดานมนุษยสัมพันธ (Human Relations Model) เปนตัวแบบที่สะทอนคานิยมภายใน (Internal Focus) และการมีโครงสรางแบบยืดหยุน (Flexible Structure) สําหรับคานิยมที่สําคัญของฝายบริหารตามตัวแบบมนุษยสัมพันธ มักเกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development) เชน การฝกอบรม (Training) การสรางทักษะในการทํางาน จึงเปนหนาที่ของผูบริหารตองสรางกระบวนการทํางานที่ประกอบดวยความผูกพัน (Cohesion) ขวัญในการทํางาน (Morale) และ ความไววางใจ (Trust) การใชตัวแบบมนุษยสัมพันธองคการจะใหความสําคัญแกพนักงาน มากกวาสภาพแวดลอมภายนอก เชนเดียวกับตัวแบบกระบวนการภายใน ซึ่งเหมาะกับชวงเวลาที่องคการกําลังขยายตัว และตองการความรวมแรงรวมใจจากสมาชิกเปนสําคัญ

การประเมินประสิทธิผลองคการตามแนวทางการแขงขันดานคานิยม จึงมีจุดเดนที่สําคัญ 2 ประการ ประการแรกคือตัวแบบที่ใชในแนวทางนี้ลวนเกิดจากบูรณาการแนวคิดประสิทธิผลขององคการทุกแนวทางเขาดวยกัน ประการตอมาคือตัวแบบทั้ง 4 รูปแบบ สะทอนถึงคานิยมของผูบริหารวาจะใหความสําคัญกับคุณคาตอมิติหรือเกณฑใดเปนหลัก เพราะตัวแบบแตละแบบที่ถูกเลือกใชนั้นยอมบงชี้ถึงเปาหมายที่ผูบริหารตองการใหเกิดขึ้นในองคการ

2.3 แนวคิดเรื่องการจัดการมูลฝอย2.3.1 ความหมายและแนวคิดในการจัดการมูลฝอยTchobanoglous, Theisen and Vigil (1993:7 อางถึงใน รุงกิจ บูรณเจริญ, 2554) ไดให

ความหมายของการจัดการขยะ (Solid Waste Management) มีใจความสําคัญคือ การจัดการมูลฝอย หมายถึง ระเบียบวิธีการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการควบคุมแหลงกําเนิด (Control of Generation) การเก็บรักษา (Storage) การเก็บรวบรวม (Collection) การขนถายและการขนสง (Transfer and Transport) กระบวนการตางๆ (Processing) และการกําจัดมูลฝอย (Disposal of Solid Wastes) ดวย

Page 32: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

23

วิธีการภายใตหลักการดีที่สุดดานสุขภาพของประชาชน ดานเศรษฐกิจ ดานวิศวกรรม ดานการอนุรักษ ดานสุนทรียภาพและขอพิจารณาอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม และจะตองสนองตอบตอความตองการของประชาชนดวย ภายใตขอบเขตของการจัดการมูลฝอย ยังมีความหมายรวมถึงการบริหารทั้งหมด การเงิน การวางแผน กฎหมาย ตลอดจนการดําเนินการทางดานวิศวกรรมเพื่อแกไขปญหามูลฝอย

ในการจัดการขยะมูลฝอยมีกฎหมายที่เกี่ยวของที่สําคัญ คือ พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดกําหนดบทบาทหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดการขยะ ตั้งแตการรณรงคในการลดปริมาณขยะจนถึงการกําจัด ซึ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดทําแผนการจัดการขยะมูลฝอยแหงชาติขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2546 เพื่อใชเปนกรอบและแนวทางในการแกไขปญหาการจัดการขยะในภาพรวมของประเทศ พรอมทั้งตั้งเปาหมายใหสอดคลองกับนโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2550 –2559 ในการที่จะควบคุมอัตราการเกิดขยะในเขตกรุงเทพมหานครไมใหเกิน 1 กิโลกรมตอคนตอวันในเขตเมืองและเทศบาลไมเกิน 0.8 กิโลกรัมตอคนตอวัน ในเขตเทศบาลและเทศบาลตําบลไมเกิน 0.6 กิโลกรมตอคนตอวัน และในเขตองคการบริหารสวนตําบลไมเกิน 0.4 กิโลกรมตอคนตอวัน

แนวคิดในการจัดการมูลฝอย ของกรุงเทพมหานครการจัดการมูลฝอย คือ การนําขยะกลับมาใชประโยชนใหมใหมากที่สุด เหลือขยะไปฝง

กลบนอยที่สุด โดยใชกระบวนการกําจัดมูลฝอยแบบผสมผสาน เพิ่มประสิทธิภาพการกําจัดมูลฝอยใหเหมาะสมกับองคประกอบมูลฝอย การกําจัดมูลฝอยดวยเทคโนโลยีเตาเผาและนําพลังงานไป ผลิตไฟฟา และลดการใชเทคโนโลยีฝงกลบมูลฝอย

กรุงเทพมหานครจึงไดตั้งเปาหมายการจัดการขยะในแนวทางใหม คือ การลดปริมาณขยะมูลฝอยและนําของเสียกลับไปใชประโยชนโดยมุงสงเสริมใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการลดปริมาณขยะมูลฝอยและผลักดันใหมีการนําหลักการ 3R ไปสูการปฏิบัติ การคัดแยกกอนทิ้งและทิ้งใหถูกที่ซึ่งเปนหัวใจหลักของการบริหารจัดการขยะอยางยั่งยืนและลดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม

อดิศักดิ์ ทองไขมุกต และคณะ (2546)ไดเสนอระบบจัดการมูลฝอยประกอบดวยองคประกอบ 6 ประการไดแก การผลิตมูลฝอย การเก็บกักและแยกประเภท ณ แหลงกําเนิดการเก็บขน การแปรสภาพและนํากลับมาใชประโยชน การขนถายและขนสง และการกําจัด

Page 33: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

24

องคประกอบทั้ง 6 ประการนี้มีความสัมพันธกัน และจะตองมีการดําเนินการอยางเปนระบบครบวงจรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และกอใหเกิดผลเสียหายเกิดขึ้นจากกิจกรรม

พูลศักดิ์ ประณุทนรพาล (2540) สรุปวา การจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยที่ดีไมไดหมายถึงกํากําจัดขยะอยางถูกตองเหมาะสม แตหมายถึง การมุงหลีกเลี่ยงหรือลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งก็คือการกอใหเกิดขยะนอยลง และลดการเสี่ยงภัยจากมลพิษที่เกิดจากขยะ ดังนั้นการแกปญหาขยะในปจจุบันจึงจําเปนตองเปลี่ยนแปลงไป โดยจะตองเนนที่การลดการเกิดขยะจากแหลงกอเกิดแทนที่จะคอยควบคุมหรือกําจัดเมื่อเกิดขยะขึ้นแลว วิธีการที่ใชในการลดปริมาณขยะ คือ ลดปริมาณขยะ (Reduce) และนํากลับมาใชใหม (Recycling) ขยะซึ่งไมสามารถนํากลับไปใชใหมไดแลวจึงจะตองกําจัดโดยการฝงกลบ หรือเผา ซึ่งถือเปนขั้นตอนสุดทายของกระบวนการจัดการมูลฝอยและใหมีปริมาณเหลือนอยที่สุด

กระบวนการกําจัดขยะมูลฝอยดวยการลดปริมาณขยะจะประสบความสําเร็จไดโดยตองปฏิบัติตามลําดับดังนี้

1. การลดการกอเกิดขยะ (Reduce at source) หรือการลดขยะจากแหลงที่เกิด ดวยการพยายามหลีกเลี่ยงหรือลดการเกิดขยะที่จะเกิดขึ้นหากสามารถทําได วิธีการลดปริมาณขยะที่มีใหไดประสิทธิภาพสูงสุดคือ ไมสรางขยะขึ้นมา สงผลใหประหยัดงบประมาณที่จะตองใชในการกําจัดขยะและของเสียที่เกดขึ้น

2. การนําผลิตภัณฑมาใชซ้ํา (Reduce) เปนการนําวัสดุของใชรูปแบบเดิมหรือนํามาซอมแซมใช หรือนํามาใชประโยชนอื่นๆ

3. การนํากลับมาผลิตใหม (Recycling) เปนการแยกวัสดุที่ไมสามารถนํากลับมาใชซ้ําออกจากขยะและรวบรวมมาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาขึ้นใหมหรือที่เรียกวา (Recycle) ขั้นตอนนี้เปนการนําวัสดุของใชมาใชใหมเชนกัน แตตางกันจากขั้นตอนการนํามาใชซ้ํา((Reduce) วัสดุที่สามารถนํามาใชในการผลิตใหม สําหรับขยะที่สามารถยอยสลายไดสามารถแยกไปทําการยอยสลาย เพื่อทําเปนปุยธรรมชาติหรือยอยสลายตามธรรมชาติ

4. การฟนฟูประโยชนจากขยะ (Recovery) เปนการดึงเอาพลังงานจากขยะ ไดแก การใชขยะเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาจากเตายะ การดึงเอากาซที่เกิดจากการหมักของขยะที่หลุมฝงมาใช

5. การกําจัดขยะ (Residue Disposal) ขยะที่เหลือจากการผานขั้นตอนตางๆ ทั้ง 4 มาแลวจึงจะตองมีการกําจัดอยางถูกวิธีและเปนขั้นตอนสุดทายและควรมีปริมาณเหลือลดลงหรือเหลือนอยลงที่สุด

Page 34: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

25

Tammemagi (1999: 15-16) อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดของการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย ไวในหนังสือ The Waste Crisis มีสาระสําคัญ คือ ใครที่ควรรับผิดชอบกับวิกฤตการณมูลฝอยที่กําลังปรากฎขึ้น นักวิศวกร หรือนักวิทยาศาสตรผูออกแบบและสรางระบบการกําจัดมูลฝอย เจาหนาที่ของรัฐผูพัฒนา และบังคับใชกฎหมาย นักการเมือง ผู เปนเจาของ หรือมีอํานาจในการตัดสินใจ และดําเนินการเกี่ยวกับระบบดังกลาว หรือประชาชนผูสรางฝอย ที่ตองรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย คําตอบคือ คนที่คนที่กลาวมาแลว เนื่องจากมูลฝอยคือสิ่งที่เปนประชาธิปไตยอยางมาก (wastes are very democratic) คนแตละคนสรางมูลฝอย ดังนั้น ทุกคนตองรวมกันแกไขปญหาเพราะความหลากหลายทางธรรมชาติของมูลฝอยสงผลใหการจัดการมูลฝอยกลายเปนปญหาสังคมที่รุนแรงมาก การเขาใจถึงเรื่องเทคนิคเฉพาะทางยังไมเพียงพอ ทุกอยางมีความสําคัญเทาๆกัน และนํามาซึ่งความรวมมือระหวางภาคสังคม การเมือง รวมทั้งภาคเศรษฐกิจ เนื่องจากเราตองหาวิธีแกไขที่มีประสิทธิภาพและใชตนทุนต่ําในทางปฏิบัติ

Kreith (1994: 15 อางถึงใน รุงกิจ บูรณเจริญ, 2554) ไดอธิบายเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชใหมของครัวเรือนวาโดยทั่วไปมีหลักการสําคัญ 4 ประการ คือ

1. จัดเก็บมูลฝอยทุกสัปดาห2. การแจกจายภาชนะสําหรับบรรจุมูลฝอย3. การเก็บขนมูลฝอยรีไซเคิลในวันเดียวกันกับการเก็บมูลฝอยทั่วไป4. การประชาสัมพันธโครงการอยางเขมขน

2.3.2 กระบวนการจัดการขยะมูลฝอยในปจจุบันปญหาจากขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากครัวเรือนเปนจํานวนมาก และกําจัดไดยากหรือกําจัด

ไดไมทันกับปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จึงมีการวางแผนและกําหนดมาตรการในการจัดการขยะมูลฝอยขึ้น ตามสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2551) มีขั้นตอนดังนี้

1. การจัดการ ณ แหลงกําเนิด การจัดการขยะมูลฝอย แหลงกําเนิด โดยเฉพาะจากครัวเรือน เปนมาตรการในการกําหนดรูปแบบและวิธีการในการจัดการขยะมูลฝอยจากเจาของหรือ ผูครอบครองอาคารแบงเปน 3 วิธี

1.1 เจาของผูครอบครองอาคารบานเอนจัดใหมีภาชนะรองรับขยะมูลฝอยของตนเองโดยตั้งไวดานหนาอาคาร เพื่อรอใหผูมีหนาที่มาจัดเก็บขยะมูลฝอยนั้น

Page 35: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

26

1.2 การนําขยะมูลฝอยไปทิ้งยังจุดรวบรวมขยะมูลฝอยตามที่ผูมีหนาที่จัดการกําหนดไว เพื่อรณรงคใหเกิดการแยกประเภทขยะกอนทิ้ง โดยจัดภาชนะรองรับวางไวเปนจุดๆ และความถี่ในการจัดเก็บขึ้นอยูขยะมูลฝอยของแตละทองที่

1.3 การนําไปใชประโยชนอื่นๆ เชน เปนอาหารสัตว ทําปุยสําหรับเพาะปลุก หรือขายใหกับพอคาที่รับซื้อของเกา

2. การเก็บรวบรวม (Secondary Collection) ผูมีหนาที่เก็บรวบรวมมูลฝอย (ฝายรักษาความสะอาดของสํานักงานเขต) ดําเนินการในเรื่องดังกลาวตามประเภทของแหลงรองรับ โดยอาจกําหนดเวลาที่ชัดเจน ผูมีหนาที่มาดําเนินการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยตามความเหมาะสม

3. การขนถาย เมื่อเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยตามจุดตางๆ แลว ผูมีหนาที่จะตองขนถายขยะมูลฝอยนั้นไปยังสถานที่ไดกําหนดไว ซึ่งกรุงเทพมหานคร มี 3 สถานี คือ สถานีขนถายออนนุช สถานีขนถายหนองแขม และสถานีขนถายสายไหม ซึ่งเปนจุดพักกอนที่จะสงไปยังสถานที่กําจัดขยะตอไป

4. การกําจัดขยะมูลฝอย ทําได 4 วิธีดังนี้4.1 การเทกองกลางแจง โดยนําขยะที่จะกําจัดกองทิ้งไวยังพื้นที่โลงกําหนดไวปลอย

ใหขยะมูลฝอยยอยสลายตามธรรมชาติซึ่งเปนวิธีที่ปฏิบัติกันมาตั้งแตในอดีต การเทกองกลางแจงนี้เปนวิธีที่งาย ไมตองใชเทคโนโลยีและเงินทุนมาก แตเปนวิธีการที่ไมถูกสุขลักษณะ

4.2 การฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ โดยการนําขยะมูลฝอยมาอัดลงในดินแลวใชดินกลบและบดอัดใหแนน ปลอยใหขยะมูลฝอยนั้นเกิดการยอยสลายตัว อยางชาๆ ตามธรรมชาติ การฝงกลบนี้จะเสียคาใชจายนอยกวาการกําจัดโดยใชเตาเผา ทั้งยังชวยลดกลิ่นรบกวน และสามารถควบคุมการแพรกระจายของของเสียและเชื้อโรคจากขยะนั้นได แตทั้งนี้ตองคํานึงถึงองคประกอบแวดลอมตางๆ เชน พื้นที่ที่ฝงกลบจะตองมิใชที่น้ําทวมถึง จะตองมีวิธีการปองกันการรั่วซึมของน้ําจากบริเวณฝงกลบไปยังแหลงน้ําใตดินหรือแหลงน้ําใตดินหรือแหลงน้ําผิวดิน และพื้นที่ดังกลาวควรสามารถรองรับขยะมูลฝอยไดไมนอยกวา 15 ป

4.3 การเผาดวยความรอนสูง การกําจัดขยะมูลฝอยโดยการเผาดวยตาเผาขยะที่ใชอุณหภูมิมากกวา 1000 องศาเซลเซียส จึงเปนการเผาที่สมบูรณ ไมกอใหเกิดมลพิษทางอากาศ โดยวิธีนี้จะชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยลงไดมากอีกทั้งพลังงานความรอนจากเตาเผาไหมก็ยังสามารถนํามาผลิตกระแสไฟฟาไดอีกดวย ขยะมูลฝอยที่เหมาะสมสําหรับการกําจัดโดยวิธีเผานี้จะตองมีความชื้นไมเกินรอยละ 67 และมีสารเผาไหมในปริมาณที่เพียงพอ การกําจัดมูลฝอยยังตองอาศัยเงินทุน และความรูสูงกวาวิธีอื่นๆ

Page 36: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

27

4.4 การสงเสริมและสนับสนุนใหมีการลดปริมาณขยะ โดยการออกกฎ ระเบียบ ขอบังคับ เพื่อชวยในการลดปริมาณขยะและลดการบริโภคอยางฟุมเฟอยหรือกําจัดยาก

สรุป การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารและการจัดการขยะมูลฝอย ไดแก การลดปริมาณ การคัดแยกการเก็บรวบรวม การขนยาย การกําจัด การนํากลับมาใชประโยชนตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการปองกันและแกไขปญหา ขยะมูลฝอย

2.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของวรรณา สมศรี (2554) ไดทําการศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการ

ขยะมูลฝอยกรณีศึกษา: องคการบริหารสวนตําบลอรัญญิก อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลอรัญญิกอําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก โดยภาพรวมทุกดานพบวา การมีสวนรวมของประชาชนอยูในระดับปานกลาง และไมแตกตางกัน ในดานการมีสวนรวมในการตัดสินใจ การมีสวนรวมในการวางแผนงานการมีสวนรวมในการดําเนินการ การมีสวนรวมในการรับผลประโยชนและการมีสวนรวมในการติดตามประเมินผล ชี้ใหเห็นวา ประชาชนใหความสนใจเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยในแตละดานใกลเคียงกัน โดยประชาชนในตําบลอรัญญิกใหความสนใจในการเขามามีสวนรวมในการดําเนินการมากที่สุด เนื่องมาจากประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมไดงายกวาดานอื่นๆ สามารถปฏิบัติไดเองโดยไมตองยุงยาก เชน การคัดแยกขยะ การนํามาใชใหม และประชาชนใหความสนใจเขามามีสวนรวมในการวางแผนนอยที่สุด อาจเนื่องมาจากการไดรับขาวสารจากองคการบริหารสวนตําบลอรัญญิกนอยและไมคอยเขาใจ ประชาชนจึงใหความสนใจการเขามามีสวนรวมนอยกวาทุกดาน

สมชาย เขียวออน (2554) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน โดยการศึกษาจากครัวเรือนที่อาศัยอยูในชุมชนทาเตียน จํานวน 171 ครัวเรือน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งมีคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ดานผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการมีสวนรวมในการจัดการขยะและการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ผลการวิจัยพบวา ระดับการมีสวนรวมของประชาชนโดยรวม ดานการรวมคิดและแสดงความคิดเห็น ดานการรวมดําเนินการ ดานการรวมติดตามตรวจสอบ และดานการรวมขยายผลอยูในระดับปานกลาง สวนระดับการมีสวนรวมของประชาชนดานการรับรูและดานการรวมรับผิดชอบ อยูในระดับมาก จากการทดสอบสมมติฐานพบวาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแตกตางไปตามอาชีพหลักของครัวเรือน ระยะเวลาที่อาศัยอยูในชุมชน

Page 37: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

28

ความรูสึกผูกพันและหวงแหนชุมชนนี้ ความบอยครั้งในการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย

วิจักษ คันธะมาลย (2552 ) การวิจัยเพื่อศึกษา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตําบลสตึก อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย กลุมตัวอยางไดจากการสุมจากประชากร ผลการวิจัยพบวา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตําบลสตึก อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนแตละดานพบวาทุกดานอยูในระดับปานกลางเชนกัน ขอเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเทศบาล ตําบลสตึก คือ เห็นควรสรางความเขาใจใหความรูประชาชนเพื่อใหทราบถึงการกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตอง ถูกวิธี ถูกสุขลักษณะตามหลักสุขาภิบาล เห็นควรใหมีการแบงเวลาการจัดเก็บตามระยะเวลาที่เหมาะสม อยางนอยวันละ 2 ครั้ง เห็นควรใหมีการเพิ่มสถานที่รองรับขยะในชุมชนใหมากขึ้น และเห็นควรสงเสริมใหประชาชนรูสึกถึงความรับผิดชอบ มีสวนรวมในการดําเนินงานกําจัดขยะมูลฝอยในชุมชนของตนเองใหมากขึ้น

รัชชานันท ศรีสุภักดิ์ (2552) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยในเขตเทศบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ไดศึกษากลุมตัวอยางตัวแทนครัวเรือน 178 คน ผลปรากฎพบวา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยครัวเรือนอยูในระดับสูง ปจจัยที่สงผลตอการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยครัวเรือน คือความรับผิดชอบในการจัดการมูลฝอย รองลงมาคือการมีสวนรวมของประชาชนรวมรับรูรวมดําเนินการในการจัดกิจกรรมตามลําดับ สวนการมีสวนรวมในการรวมคิดและแสดงความคิดเห็นในการประชุมชมอยูในระดับนอยที่สุด

สรพล สุวรรณจิตร (2551) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย โดยรวมในชวง 3 เดือน คือที่ผานมา มีพฤติกรรมอยูในระดับ ปฏิบัติบางครั้ง พฤติกรรมที่กลุมตัวอยางปฏิบัติมากที่สุด คือ พฤติกรรมการคัดแยก ขยะพิษ ออกจากขยะยังใชได (รีไชเคิล) โดยจะปฏิบัติในระดับปฏิบัติบางครั้ง และรองลงมาคือ พฤติกรรมการคัดแยก ขยะเศษอาหาร ออกจากขยะยังใชได(รีไซเคิล) โดยจะปฏิบัติอยูในระดับปฏิบัติบางครั้ง ระดับความรูในเรื่องการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย เศษอาหารเปนขยะมูลฝอย ทัศนคติในเรื่องการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย การรับรูเกี่ยวกับโครงการสงเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเปนขยะหอม การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยจากแหลงขาวสารตางๆ ในชวงระยะเวลา 6 เดือนที่ผานมา และการเพิ่มอัตราคาธรรมเนียม การเก็บขนขยะมูลฝอยสําหรับ

Page 38: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

29

ครัวเรือนที่ไมมีการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย และลดอัตราคาธรรมเนียมการเก็บขนขยะมูลฝอย ครัวเรือนที่มีการคัดแยกประเภทมูลฝอย

กัลยา สัมมาแอ (2550) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลคลองขุด อําเภอเมือง จังหวัด สตูล ผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยในภาพรวมอยูในระดับกลาง ปญหาอุปสรรคในการจัดการมูลฝอยคือ ถังรองรับมูลฝอยมีไมเพียงพอ การเก็บขยะมูลฝอยไมเปนเวลา และสัตวเลี้ยงมาคุยเขี่ยมูลฝอย ควรมีการประชาสัมพันธในเรื่องการจัดการมูลฝอยอยางสม่ําเสมอ ควรจัดหาถังขยะใหเพียงพอตอปริมาณขยะ ควรใชถังรองรับมูลฝอยแบบมีฝาปดอยางมิดชิด มีการจัดประกวดหมูบานสะอาด

เนตรชนก คําลอง (2550) ศึกษาการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยขององคการ บริหารสวนตําบลรูสะมิแอ อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี พบวา ประชาชนสวนใหญมีความรูความเขาใจในการจัดการมูลฝอยอยูในระดับมาก แตไมเคยไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย สําหรับเรื่องมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย โดยภาพรวมมีหลายดาน คือดานการคิดและเสนอแนวทางดานการดําเนินงาน ดานการรับผลประโยชน และดานการติดตามประเมินผลอยูในระดับกลาง ปญหาอุปสรรคในการมีสวนรวมของประชาชน คือประชาชนไมเคยไดรับสื่อประชาสัมพันธเรื่องการจัดการมูลฝอย ไมมีถังแยกประเภทมูลฝอยที่เพียงพอในบริเวณที่พักอาศัยและชองทางการสื่อสารระหวางประชาชนกับองคการบริหารสวนตําบลมีความยากลําบาก

ประภาวรรณ ศรีออนทอง (2550) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตําบลสถกบาตร อําเภอขาณวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร ผลการศึกษาพบวาการมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการมูลฝอย ดานการรวมมือแกไขปญหาโดยรวมอยูในระดับนอย ดานการรวมปฏิบัติโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และดานการลดปริมาณมูลฝอยโดยภาพรวมอยูในระดับในระดับสูง

ปรียนันท ทําจะดี (2550) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนตอวิธีการกําจัดมูลฝอยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลรั้วใหญ อําเภอเมืองสุพรรณบุรี พบวา ประชาชนมีสวนรวมตอการกําจัดมูลฝอยอยูในระดับสูง ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนตอการกําจัดมูลฝอยพบวา การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการกําจัดมูลฝอยและความพึงพอใจตอการจัดการมูลฝอยมีผลตอการมีสวนรวมตอการกําจัดมูลฝอย ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนตอการกําจัดมูลฝอย พบวา การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการกําจัดมูลฝอยและความพึงพอใจตอการจัดการมูลฝอย มีผลทําใหการมีสวนรวมตอการกําจัดมูลฝอยมีปญหาอุปสรรคที่มีผลตอการมีสวนรวม ไดแก การประชาสัมพันธเกี่ยวกับการกําจัดมูลฝอย ดานความสะอาดและสภาพของถังมูลฝอย

Page 39: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

30

ภานุ พนภัย (2550) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลทาโพธิ์ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จํานวน 320 ครัวเรือน ผลการศึกษาพบวา ประชาชนสวนใหญมีความรูความเขาใจในเรื่องการจัดการมูลฝอยและการคัดแยกมูลฝอยอยูในระดับสูง ประชาชนสวนใหญไมเคยไดรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยและคัดแยกมูลฝอย ระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย พบวาคะแนนเฉลี่ยของการมีสวนรวมโดยรวมทุกดานอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาการมีสวนรวมของประชาชนในดานการดําเนินงานคัดแยกมูลฝอยสูงกวาการมีสวนรวมดานอื่น ปญหาอุปสรรคในการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยคือ ไมมีถังแยกประเภท เจาหนาที่มาเก็บมูลฝอยไมตรงเวลา และปญหาคน สัตวมาคุยเขี่ยมูลฝอยจากถังรองรับ

สุนันทา ระหงส (2550) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลคลองมะเดื่อ อําเภอ กระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร พบวาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย โดยรวมอยูในระดับนอยที่สุด และประชาชนมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย จําแนกตามองคประกอบของการจัดการมูลฝอย พบวาประชาชนมีสวนรวมในดานการลดปริมาณการผลิตมูลฝอย ดานการเก็บรวบรวม และดานการเก็บขนมูลฝอย อยูในระดับการมีสวนรวมนอย ดานการจัดระบบรีไซเคิล (การแปรรูปกลับมาใชใหม) อยูในระดับการมีสวนรวมนอยที่สุด และดานการกําจัดมูลฝอยอยูในระดับการไมมีสวนรวม

กัญญา จาอาย (2549) ไดศึกษาการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนสันกลาง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ผลจากการศึกษาพบวา ผูนําชาวบาน และสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลมีสวนรวมในการรับรูถึงปญหา กําหนดเปาหมาย ติดคนวิธีการแกไขปญหา รวมปฏิบัติงานดําเนินการแกไขปญหาขยะมูลฝอยจนเกิดความสําเร็จและทําใหเกิดกิจกรรมโครงการที่ดําเนินงานในชุมชน คือ โครงการการใหความรูเกี่ยวกับขยะและการจัดการขยะ โครงการจัดตั้งกองทุนขยะ และโครงการหนาบานนามอง จากการติดตามการดําเนินการโครงการพบวาคณะผูบริหารองคการบริหารสวนตําบลและผูนําชาวบานไดไปดูการจัดการขยะ ไดจัดตั้งกองทุนขยะ และไดริเริ่มฝกอบรมการทําขยะเปนปุยหมักชีวภาพ บําบัดน้ําเสีย และโครงการนาบานนามอง ซึ่งทําใหเกิดกระบวนการมีสวนรวม เกิดการยอมรับและนําไปสูการแกไขปญหารวมกัน

นงนุช ใจโต (2548) ไดศึกษาการจัดการมูลฝอยของชุมชน ตําบลดอนแกว ผลการศึกษาพบวา การจัดการดวยตนเอง โดยจัดการมูลฝอยจากแหลงกําเนิด โดยดําเนินการในเรื่องการลดการเกิดการเกิดขยะมูลฝอย การคัดแยก การจัดเก็บ การนํากลับมาใชใหม การรวบรวม และการจําหนายมูลฝอย การบริหารรายไดจากการจําหนายมูลฝอย การการศึกษาพบวา การกําหนดระเบียบขอบังคับ

Page 40: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

31

เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยของชุมชนเกิดจาก การมีสวนรวมในการจัดการจัดการปญหา รวมกันคิดรวมกันตัดสินใจ ดําเนินการ และติดตามผล

ศุภกร ทิมจรัส (2548) ไดศึกษาวิจัยเรื่องพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร การรับรูขอมูลขาวสารโดยทางโทรทัศน และมีความรูกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในระดับปานกลาง จากการทดสอบสมมติฐานพบวา อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่อาศัยในครัวเรือน รายไดเฉลี่ยในครัวเรือน ตอเดือน การรับรูขอมูลขาวสาร ลักษณะที่อยูอาศัย และระดับความรูในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน จากการสัมภาษณเชิงลึกพบวา มีการคัดแยกขยะมูลฝอยแลวนําไปขาย มีการซอมแซมสิ่งของเพื่อนํากลับใชใหม และการรณรงคประชาสัมพันธ ใหประชาชนมีจิตสํานึกในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกตอง

ปฤษฐา พฤมิวิชญ (2547) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจําแนกประเภทขยะมูลฝอยที่ใชในชีวิตประจําวันกอนทิ้ง เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ผลการพบวา การมีสวนรวมในการจําแนกประเภทขยะมูลฝอยที่ใชในชีวิตประจําวันกอนทิ้งอยูในระดับปานกลาง และพบวามีสวนรวมปานกลาง ดานการมีสวนรวมปฏิบัติการเปนอันดับหนึ่ง รองลงมามีสวนรวมนอยดานการมีสวนรวมตัดสินใจเลือกทางเลือก ดานการมีสวนรวมคิด/วางแผน และดานรวมติดตามและประเมินผลตามลําดับ

ศเนติ พาจรทิศ (2547 ) ไดทําการศึกษา เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ผูมีสวนเกี่ยวของสําคัญในการกําหนดนโยบายของเขตพื้นที่เทศบาลและพื้นที่ติดตอมีสวนรวมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในระดับปานกลาง โดยมีสวนรวมในการรับรูสถานการณและสภาพของปญหา การวางแผนและการตัดสินใจ การทํากิจกรรมหรือโครงการ อยูในระดับปานกลาง สําหรับการมีสวนรวมในการตรวจสอบและประเมินผล อยูในระดับนอย มีสวนรวมในการรับรูสถานการณและสภาพปญหาการวางแผนและตัดสินใจ อยูในระดับนอย แตสําหรับการมีสวนรวมในกิจกรรมหรือการตรวจสอบและประเมินผล อยูในระดับนอยที่สุด

สรุป การศึกษาขอมูลเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ พบวา ปญหาขยะมูลฝอยไมใชเรื่องเล็ก ที่จะมองขามหรือละเลยกันอีกตอไป หากแตตองมีมาตรการในการจัดการที่เหมาะสมและชัดเจน ตั้งแตการลดปริมาณการสรางขยะ การขนถายและกําจัด ตลอดจนการคัดแยกขยะเพื่อนํากลับมาใชใหมใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งการเก็บภาษีตั้งแตตนทางจากการผลิตและผูบริโภคสําหรับการที่จะนําไปใชในการบริหารจัดการ มิเชนนั้นการแกปญหาที่ปลายเหตุดังเชนทุกวันนี้ จะกอใหเกิดปญหาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม และการที่จะสามารถแกไขปญหาขยะมูลฝอยให

Page 41: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

32

ไดผล ประชาชนในชุมชนตองมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยรวมกับภาครัฐดวย ถึงจะทําใหการดําเนินการดังกลาวเปนไปไดดวยดี และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

2.5 กรอบแนวคิดในการศึกษาสําหรับการศึกษาครั้งนี้ การมีสวนรวมของผูนําชุมชน ผูศึกษาใชแนวคิดการมีสวนรวม

ของ เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527) และแนวคิดของอคิน รพีพัฒน (2527) และประสิทธิผลการจัดการมูลฝอย ผูศึกษาใชแนวคิดแนวคิดของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร (2553) มาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังน้ี

ตัวแปรตน (IV) ตัวแปรตาม (DV)

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

2.6 สมมติฐานในการศึกษา สมมติฐาน 1 การมีสวนรวมคนหาและสาเหตุมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอย

ในชุมชนเขตบางเขนสมมติฐาน 2 การมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหามีอิทธิพลตอประสิทธิผลการ

จัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนสมมติฐาน 3 การมีสวนรวมปฏิบัติงานมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยใน

ชุมชนเขตบางเขนสมมติฐาน 4 การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการ

จัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

การมีสวนรวมของผูนําชุมชน

1. รวมคนหาและสาเหตุของปญหา2. รวมวางแผนและแกไขปญหา3. รวมปฏิบัติงาน4. รวมติดตามผลและประเมินผล

ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอย ในชุมชน1. ลดการเกิดมูลฝอย2. การคัดแยกมูลฝอย3. การใชประโยชน4. การรวบรวมมูลฝอย

Page 42: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

33

2.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง วิธีการหรือรูปแบบในการทําใหขยะมูลฝอยนั้นหมดไป

หรือลดนอยลง ไดแก การจัดการ ณ แหลงกําเนิด การลดปริมาณขยะ การเก็บรวบรวม การขนถาย การกําจัด การแยกประเภทขยะและการรณรงคสรางจิตสํานึก

การจัดการมูลฝอยในชุมชน หมายถึง วิธีการ หรือรูปแบบในการทําใหขยะมูลฝอยในชุมชนนั้น ลดนอยลง คือ ลดการเกิดมูลฝอย คัดแยกมูลฝอย ใชประโยชนมูลฝอย รวบรวมมูลฝอย

ลดการเกิดมูลฝอย หมายถึง รณรงคใหประชาชนมีสวนรวมในการลดการผลิตมูลฝอยในแตละวันไดแก

1. ลดการทิ้งบรรจุภัณฑโดยการใชสินคาชนิดเติมใหม เชน ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน น้ํายาทําความสะอาดและถานไฟฉายชนิดชารตใหม เปนตน

2. เลือกใชสินคาที่มีคุณภาพมีหอบรรจุภัณฑนอย อายุการใชงานยาวนาน และตัวสินคาไมเปนมลพิษ 3. ลดการใชวัสดุกําจัดยาก เชน โฟมบรรจุอาหาร และถุงพลาสติก

คัดแยกมูลฝอย หมายถึง การแยกประเภทของขยะมูลฝอย เปน 4 ประเภท 1. มูลฝอยอินทรีย เปนสิ่งที่ยอยสลายไดงายเชนเศษผัก เศษผลไม เศษอาหารตาง ใบไม

กิ่งไม ซากสัตว ซากพืช2. มูลฝอยรีไซเคิล เปนสิ่งที่ยังมีประโยชนสามารถนําไปแปรรูปกลับมาใชใหม เชน

ขวด กระดาษ พลาสติก แกว โลหะ กลองเครื่องดื่มแบบ UHT กระปอง และแผนซีดี 3. มูลฝอยอันตราย เปนสิ่งที่มีองคประกอบหรือปนเปอนสารอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุ

กัดกรอน วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ เชน ถานไฟฉาย กระปองสเปรย หลอดไฟฟลูออเรสเซนต แบตเตอรี่ ขวดน้ําน้ํายาลางหองน้ํา เปนตน

4. มูลฝอยทั่วไป หมายถึง สิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากขางตนอาจนํามาใชใหมไดแตยอยสลายยาก ไมคุมคาในการแปรรูปกลับมาใชใหม เชน เศษผา เศษหนัง ซองบะหมี่สําเร็จรูป พลาสติกหอขนม เปนตน

การใชประโยชนมูลฝอย หมายถึง การนํามูลฝอยที่ยอยสลายไดไป ทําปุยหมัก ทําน้ําชีวภาพ หรือไปเลี้ยงสัตว

รวบรวมมูลฝอย หมายถึง ขยะสวนที่เหลือหลังจากที่ไดคัดแยกเรียบรอยแลว จะเปนขยะไมใชไมไดจริง โดยกําหนดจุดรวบรวมมูลฝอยในชุมชน เพื่อใหเจาหนาที่เขตมาเก็บขนตอไป

Page 43: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

34

การจัดการมูลฝอยโดยชุมชน เปนรูปแบบที่ชุมชนเรียนรู วางแผน และดําเนินงานแบบผสมผสานอยางเหมาะสมกับชุมชน ในการจัดการมูลฝอยจากแหลงกําเนิด ซึ่งกอใหเกิดประโยชนดานตางๆ คือ

1. ลดปริมาณมูลฝอยที่ตองเก็บขนไปกําจัด2. ไดรับประโยชนจากการขายหรือใชมูลฝอย3. ชุมชนมีความสะอาด เปนระเบียบและมีสภาพแวดลอมที่ดี 4. เกิดกิจกรรมรวมกันในชุมชนสรางสรรคสังคมนาอยูการมีสวนรวม หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และอารมณ

ของบุคคลหนึ่งในสถานการณกลุม ผลของการเกี่ยวของเปนเหตุการณราวใจใหเกิดมีการพัฒนาและกระทําเพื่อใหบรรลุจุดหมายเดียวกันของกลุมนั้น รวมทั้งทําใหเกิดความรูสึกรวมรับผิดชอบกับกลุมดังกลาว โดยการมีสวนรวมนั้นตองเปนไปดวยความสมัครใจ เปนอิสระในการตัดสินใจ ไมถูกครอบงําจากบุคคลอื่น ลักษณะการมีสวนรวมอาจแตกตางกันไปตามสภาพบริบท นโยบาย ตลอดจนเศรษฐกิจของสังคมนั้นดวย

การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกในความรวมมือกับการประกอบกิจกรรมการกําจัดมูลฝอยในชุมชนดวยความสมัครใจของผูนําชุมชนและประชาชน ตามลักษณะของการมีสวนรวมทั้ง 4 ดาน ไดแก

- การมีสวนรวมคนหาปญหา สาเหตุของปญหา หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกของการรวมมือการประกอบกิจกรรมการจัดการมูลฝอยในชุมชนดวยความสมัครใจ โดยการคนหาปญหา สาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นมาแลวหรืออาจจะเกิดขึ้นตอไปขางหนา และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลไว

- การมีสวนรวมวางแผนเพื่อแกไขปญหา หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกในความรวมมือการประกอบกิจกรรมการจัดการมูลฝอยในชุมชนดวยความสมัครใจ โดยการรวมมือกันวางแผนเพื่อแกไขปญหาเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย จากขอมูลที่พบปญหามา

- การมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกในความรวมมือการประกอบกิจกรรมการจัดการมูลฝอยในชุมชนดวยความสมัครใจ โดยการรวมมือกันปฏิบัติงานเพื่อใหการจัดการเกี่ยวกับมูลฝอยดําเนินไปอยางมีคุณภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชน

- การมีสวนรวมในการติดตามผลและประเมินผล หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกในความรวมมือการประกอบกิจกรรมการจัดการมูลฝอยในชุมชนโดยรวมมือกันติดตามผล การจัดการมูลฝอย เพื่อนําขอมูลวามีขอดีและขอเสียไป เปนอยางไร และนําไปปรับปรุงแกไข และหาวิธีปองกันตอไป

Page 44: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

35

บทที่ 3วิธีการศึกษา

3.1 วิธีดําเนินการศึกษาในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาใชวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยวิธีการ

เก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ ซึ่งจําแนกออกไดเปน 2 แหลง คือ3.1.1 ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนแหลงขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควา

รวบรวมขอมูลจาก เอกสาร อาทิ เอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ สารนิพนธ รายงานการวิจัย เพื่อใชประกอบการวิเคราะหใหมีความถูกตอง นาเชื่อถือ

3.1.2 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) การรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามซึ่งเปนการตั้งคําถามแบบปลายปด ซึ่งเปนการกําหนดคําตอบไวลวงหนาเพื่อใหผูตอบเลือกคําตอบที่ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุด และผูศึกษาเปนผูทําการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยขอความรวมมือจากกรรมการชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนที่จดทะเบียนเปนชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานคร ใหตอบแบบสอบถามตามความเปนจริง และตามความคิดเห็นของตนเอง โดยผูศึกษาไดชี้แจงวัตถุประสงค วิธีการในการตอบ และตรวจสอบความถูกตองหลังจากไดรับคืน

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษาประชากรประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน จํานวน 75 ชุมชน

กลุมตัวอยางโดยจะทําการศึกษาผูนําชุมชน จากคณะกรรมการชุมชนที่จดทะเบียนเปนชุมชนตาม

ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 จํานวน 75 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน รวมเปน 150 คน

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาในการศึกษาครั้งนี้ ใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวม

ขอมูล โดยแบงออกเปน 3 สวน ไดแก

Page 45: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

36

สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางไดแก เพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา

สวนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ตามแนวคิดของ เจิมศักดิ์ ปนทอง เปนขอคําถามแบบมาตรวัด Rating Scale ตามระดับของการประเมิน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีทั้งสิ้น 20 ขอ จําแนกการมีสวนรวม 4 ขอคําถาม ไดแก

1. การมีสวนรวมคนหา สาเหตุของปญหา 2. การมีสวนรวมวางแผนแกไขปญหา

3. การมีสวนรวมปฏิบัติงาน 4. การมีรวมติดตามผลและประเมินผล

สวนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน เขตบางเขน 4 ดาน มีทั้งสิ้น 12 ขอคําถาม ไดแก

1. การลดมูลฝอย2. การคัดแยกมูลฝอย 3. การใชประโยชนมูลฝอย 4. การรวบรวมมูลฝอย

3.4 การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุมตัวอยาง มาทําการวิเคราะหทางสถิติดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร โดยกําหนดระดับลักษณะแบบสอบถามแบบมาตรวัด Likert’s Scale ทั้งหมด 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้ ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 5 – 1 = 0.80 จํานวนชั้น 5

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .80 ดังนี้

Page 46: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

37

จากหลักเกณฑดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 5 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.21 - 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุดคะแนนเฉลี่ย 3.41 - 4.20 หมายถึง ระดับมากคะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 หมายถึง ระดับปานกลางคะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 หมายถึง ระดับนอยคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.80 หมายถึง ระดับนอยที่สุด

3.5 การทดสอบและหาคุณภาพของเครื่องมือเพื่อใหแตใจวาแบบสอบถามชุดนี้มีความนาเชื่อถือและสามารถใชทําการศึกษา โดย

ใหผลการศึกษาที่ถูกตอง ผูศึกษาจึงทําการทดสอบคุณภาพของเครื่องมือกอนที่จะนําไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

3.5.1 การทดสอบความเที่ยงตรงหรือความใชไดของเครื่องมือ (Validity) ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปใหอาจารยที่ปรึกษา เพื่อพิจารณาทําการตรวจสอบความตรงประเด็นเชิงเนื้อหา (Content validity) แลวนํามาแกไขปรับปรุงแบบสอบถาม ใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับการศึกษาครั้งนี้

3.5.2 การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากผานการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือแลว ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปแจกใหกรรมการชุมชนเขตอื่นเพื่อทํา Pretest จํานวน 38 คน จากนั้นนําแบบสอบถามมาวิเคราะห (Analysis) เพื่อหาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น โดยการคํานวณคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coeffcient) ตามวิธีของ Cronbach (Cronbach’s Reliability Coeffcient Alpha)

ตัวแปร คาแอลฟา (Alpha) การมีสวนรวมของผูนําชุมชน

1. รวมคนหาและสาเหตุของปญหา .93092. รวมวางแผนแกไขปญหา .94743. รวมปฏิบัติงาน .95614. รวมติดตามผลและประเมินผล .9535

Page 47: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

38

ตัวแปร คาแอลฟา (Alpha) ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอย ในชุมชน 1. ลดการเกิดมูลฝอย .89872. การคัดแยกมูลฝอย .87993. การใชประโยชน .88294. การรวบรวมมูลฝอย .9200

3.6 สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูลในการศึกษาครั้ งนี้ ทํ าการวิ เคราะหขอมูลโดยการนําขอมูลที่ รวบรวมไดจาก

แบบสอบถามมาตรวจสอบความสมบูรณความถูกตองกอน จากนั้นนําไปลงรหัสเพื่อประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร เพื่อใหคอมพิวเตอรทําการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 3.6.1 ขอมูลทั่วไป โดยแจกแจงคาความถี่ (Frequency) รอยละ (Percentage) เพื่อบรรยายขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางที่ศึกษา

3.6.2 ขอมูลเกี่ยวกับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ทําการวิเคราะหโดยแจกแจงคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่อบรรยายขอมูลทั่วไปของประชากรที่ศึกษา

3.6.3 การทดสอบสมมติฐานใชสถิติ การวิเคราะหสหสัมพันธ (Correlation Analysis) และการวิเคราะหถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) โดยการหาคาสัมประสิทธิ์การพยากรณแบบพหุคูณ ดวยวิธีคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise เพื่อวิเคราะหหาอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตาม โดยคาของความแข็งแกรงของความสัมพันธจะใชการกําหนดคาของ Cohen (1988) ที่ไดอธิบายถึงความแข็งแกรงของระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรดังนี้

ระดับอิทธิพล Regression (R2) Correlation (R)ใหญ .25 0.5กลาง .15 0.3เล็ก .02 0.1

Page 48: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

39

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน เขตบางเขนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนเขตบางเขน ศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยเขตบางเขน และเพื่อศึกษาอิทธิพลของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบวัตถุประสงคออกเปน 4 สวน ดังตอไปนี้

4.1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม4.2 การวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน 4.3 การวิเคราะหประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน4.4 การวิเคราะหสหสัมพันธระหวางตัวแปรการมีสวนรวม4.5 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณเพื่อทดสอบสมมติฐาน

4.1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามผลการศึกษาเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน ซึ่งแสดงผลวิเคราะหดังตารางดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ

เพศ ชาย หญิง

13119

87.312.7

รวม 150 100.0

Page 49: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

40

ตารางที่ 1 (ตอ)อายุ 21 - 30 ป 31 - 40 ป 41 - 50 ป 51 - 60 ป 61 ปขึ้นไป

94

373862

6.02.7

24.725.341.3

รวม 150 100.00อาชีพ ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจาง คาขาย อื่นๆ คือ ขาราชการบํานาญ

5681274

37.35.3

12.849.4

รวม 150 100.0

ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

39

47136810

2.06.0

31.38.7

45.36.7

รวม 150 100.00

จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางคณะกรรมการชุมชนที่จดทะเบียนเปนชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 จํานวน 150 คน มีรายละเอียดดังนี้

จําแนกตามเพศ พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 131 คน คิดเปนรอยละ 87.3 และเพศหญิง จํานวน19 คน คิดเปนรอยละ 12.7

Page 50: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

41

จําแนกตามอายุ พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีอายุ61 ปขึ้นไป จํานวน 62 คน คิดเปนนอยละ 41.3 รองลงมาคือ อายุระหวาง 51 - 60 ป จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 25.3 อายุระหวาง 41 - 50 ป จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 24.7 อายุระหวาง 21 - 30 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 6.0 และนอยที่สุดคือ อายุระหวาง 31 – 40 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 2.7 ตามลําดับ

จําแนกตามอาชีพ พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีอาชีพ อื่นๆ คือ ขาราชการบํานาญ จํานวน 74 คน คิดเปนรอยละ 49.4 รองลงมาคือ อาชีพขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 56 คน คิดเปนรอยละ 37.3 อาชีพคาขาย จํานวน 12 คน คิดเปนรอย 8.0 และนอยที่สุดคืออาชีพ ลูกจาง จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 5.3 ตามลําดับ

จําแนกตามระดับการศึกษา พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ 45.3 รองลงมาคือ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 31.3 อนุปริญญา/ปวส.จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 8.7 สูงกวาปริญญาตรี จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 6.7 มัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 6.0 และนอยที่สุดคือประถมศึกษา จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 2.0 ตามลําดับ

4.2 การวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน การวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนเพื่อตอบวัตถุประสงคใน

การศึกษาขอที่ 1 ที่วา เพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนเขตบางเขน ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

ตารางที่ 2 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ระดับการมีสวนรวม

การมีสวนรวมของผูนําชุมชนX SD

แปลผล

ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา 3.02 .660 ปานกลาง

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา 2.99 .798 ปานกลางดานรวมปฏิบัติงาน 3.02 .675 ปานกลางดานรวมติดตามผลและประเมินผล 2.95 .689 ปานกลาง

รวม 3.00 .675 ปานกลาง

Page 51: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

42

จากตารางที่ 2 ผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ในภาพรวมอยูระดับปานกลางคือมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.00 (SD =.675)

เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนในระดับปานกลางทั้ง 4 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาและดานรวมปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 3.02 (SD =.660 และ .675) รองลงมาคือ ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.99 (SD =.798) และดานรวมติดตามผลและประเมินผล มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.95 (SD = .689)

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผล ไดละเอียดมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนทั้ง 4 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาตารางที่ 3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน

ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาระดับการมีสวนรวม

ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาX SD

แปลผล

1.ทานมีสวนรวมในการวิเคราะห ปญหา จุดออน จุดแข็งของชุมชน

3.00 .707 ปานกลาง

2.รวมใหขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เคยพบหรือจากการกลาวของสมาชิกในชุมชน

3.03 .773 ปานกลาง

3.ทานเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะวิธีการจัดการขยะมูลฝอย

3.11 .823 ปานกลาง

4.รวมหาแนวทางในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนและจัดลําดับความสําคัญกอน-หลังของปญหา

3.17 .798 ปานกลาง

5.รวมตัดสินใจเลือกวิธีการจัดการและแนวทางแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนกับสมาชิกในชุมชนและเจาหนาที่เขต

2.79 .593 ปานกลาง

รวม 3.02 .660 ปานกลาง

Page 52: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

43

จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับปานกลางมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.02 (SD =.660)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 5 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ รวมหาแนวทางในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนและจัดลําดับความสําคัญกอน-หลังของปญหา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.17 (SD =.798) รองลงมาคือ เปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะวิธีการจัดการขยะมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.11 (SD =.823) รวมใหขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เคยพบหรือจากการกลาวของสมาชิกในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.03 (SD =.773) มีสวนรวมในการวิเคราะหปญหา จุดออน จุดแข็งของชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.00 (SD =.707) และอันดับสุดทายคือ รวมตัดสินใจเลือกวิธีการจัดการและแนวทางแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนกับสมาชิกในชุมชนและเจาหนาที่เขต มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.79 (SD =.593)

Page 53: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

44

2. ดานรวมวางแผนและแกไขปญหาตารางที่ 4 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหาระดับการมีสวนรวม

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหาX SD

แปลผล

1.มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะหปญหาและใหความสําคัญของการคัดแยกขยะมูลฝอย

2.99 .807 ปานกลาง

2.รวมวางแผนขั้นตอนในการจัดการเพื่อแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชน

3.22 .815 ปานกลาง

3.แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสมาชิกในชุมชนเขารวมในการจัดการขยะ

2.79 .905 ปานกลาง

4.รวมวางแผนรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนในชุมชนเขารวมโครงการการจัดการขยะมูลฝอย

3.05 .819 ปานกลาง

5.ทานรวมในการวางแผนจัดหาวัสดุอุปกรณในการดําเนินงาน เชน ถังขยะ อุปกรณทําความสะอาด

2.88 .976 ปานกลาง

รวม 2.99 .798 ปานกลาง

จากตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับปานกลางมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.99 (SD =.798)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 5 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ รวมวางแผนขั้นตอนในการจัดการเพื่อแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 (SD =.815) รองลงมาคือ รวมวางแผนรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนในชุมชนเขารวมโครงการการจัดการขยะมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.05 (SD = .819) มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะหปญหาและใหความสําคัญของการคัดแยกขยะมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.99 (SD =.807) รวมในการวางแผนจัดหาวัสดุอุปกรณในการดําเนินงาน เชน ถัง

Page 54: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

45

ขยะ อุปกรณทําความสะอาด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.88 (SD = .976) และอันดับสุดทายคือ แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสมาชิกในชุมชนเขารวมในการจัดการขยะ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.79 (SD = .905)

3. ดานรวมปฏิบัติงานตารางที่ 5 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน

ดานรวมปฏิบัติงานระดับการมีสวนรวม

ดานรวมปฏิบัติงานX SD

แปลผล

1.รวมประชุม อบรมใหความรูถึงคุณประโยชนจากขยะและวิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง

3.23 .844 ปานกลาง

2.มีกิจกรรมรณรงคทําความสะอาดชุมชนและการคัดแยกขยะกอนนําไปทิ้ง

2.99 .618 ปานกลาง

3.มีการประสานงานใหผูประกอบการมารับซื้อขยะ และกําหนดจุดซื้อขายขยะมูลฝอยในชุมชน

2.97 .741 ปานกลาง

4.ทานมีการพัฒนาเทคนิค การจัดการขยะมูลฝอยที่แตกตางไปจากที่ กทม.กําหนด

2.69 .544 ปานกลาง

5.รวมมือปฏิบัติตามขอกําหนดของกรุงเทพฯวาดวยขยะมูลฝอยและรวมมือกับชุมชนในการแกไขปญหาขยะมูลฝอย

3.23 .851 ปานกลาง

รวม 3.02 .675 ปานกลาง

จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมปฏิบัติงานพบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมปฏิบัติงาน โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับปานกลางมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.02 (SD = .675)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 5 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ รวมประชุม อบรมใหความรูถึงคุณประโยชนจากขยะและวิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง และรวมมือปฏิบัติตามขอกําหนดของกรุงเทพฯวาดวยขยะมูลฝอยและรวมมือกับชุมชนในการแกไขปญหาขยะมูลฝอย มี

Page 55: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

46

คาเฉลี่ยเทากับ 3.23 (SD =.844, .851 ตามลําดับ) รองลงมาคือ มีกิจกรรมรณรงคทําความสะอาดชุมชนและการคัดแยกขยะกอนนําไปทิ้ง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.99 (SD = .618) มีการประสานงานใหผูประกอบการมารับซื้อขยะ และกําหนดจุดซื้อขายขยะมูลฝอยในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD = .741) และอันดับสุดทายคือ มีการพัฒนาเทคนิค การจัดการขยะมูลฝอยที่แตกตางไปจากที่ กทม.กําหนด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.69 (SD = .544)

4. ดานรวมติดตามผลและประเมินผลตารางที่ 6 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน

ดานรวมติดตามผลและประเมินผลระดับการมีสวนรวม

ดานรวมติดตามผลและประเมินผลX SD

แปลผล

1.มีสวนในการจัดทําเกณฑประเมินผลการดําเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชน

2.77 .773 ปานกลาง

2.มีสวนในการวางแผนและกําหนดกรอบเวลาในการติดตามประเมินผล

2.84 .763 ปานกลาง

3.มีสวนในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานใหสามารถลดปริมาณขยะได

3.31 .783 ปานกลาง

4.ทานมีการติดตามและประเมินผล การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน

2.97 .664 ปานกลาง

5.มีการรายงานผลการดําเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยตอชุมชน

2.87 .699 ปานกลาง

รวม 2.95 .689 ปานกลาง

จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมติดตามผลและประเมินผลพบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ดานรวมติดตามผลและประเมินผล โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับปานกลางมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.95 (SD = .689)

Page 56: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

47

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 5 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ มีสวนในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานใหสามารถลดปริมาณขยะได มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.31 (SD = .783) รองลงมาคือ มีการติดตามและประเมินผล การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD = .664) มีการรายงานผลการดําเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยตอชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.87 (SD = .699) มีสวนในการวางแผนและกําหนดกรอบเวลาในการติดตามประเมินผล มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.84 (SD = .763) และอันดับสุดทายคือ มีสวนในการจัดทําเกณฑประเมินผลการดําเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.77 (SD = .773)

4.3 การวิเคราะหประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนการวิเคราะหประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนเพื่อตอบวัตถุประสงคใน

การศึกษาขอที่ 2 ที่วา เพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยเขตบางเขน ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

ตารางที่ 7 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

ระดับประสิทธิผลประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน X SD แปลผล ลําดับ

ดานลดการเกิดมูลฝอย 3.42 .596 สูง 1ดานการคัดแยกมูลฝอย 3.24 .658 ปานกลาง 2ดานการใชประโยชน 2.97 .783 ปานกลาง 4ดานการรวบรวมมูลฝอย 3.12 .750 ปานกลาง 3

รวม 3.19 .653 ปานกลาง

จากตารางที่ 7 ผลการศึกษา พบวา ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ในภาพรวมอยูระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.19 (SD = .653)

เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 4 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ ลําดับแรกคือ ดานลดการเกิดมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.42 (SD =

Page 57: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

48

.596) รองลงมาคือ ดานคัดแยกมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.24 (SD = .658) ดานรวบรวมมูลฝอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.12 (SD = .750) และอันดับสุดทายคือดานใชประโยชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD = .783)

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผลไดละเอียดมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ทั้ง 4 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานลดการเกิดมูลฝอยตารางที่ 8 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขต บางเขน ดานลดการเกิดมูลฝอย

ระดับประสิทธิผลดานลดการเกิดมูลฝอย

X SDแปลผล

1.ปริมาณขยะในชุมชนลดนอยลงเมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ

3.21 .750 ปานกลาง

2.ปริมาณขยะรีไซเคิลในชุมชนมีจํานวนมากขึ้นเมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ

3.47 .541 สูง

3.สภาพของชุมชนมีความเปนระเบียบเรียบรอยมากขึ้นหลังจากเขารวมโครงการจัดการขยะ

3.58 .615 สูง

รวม 3.42 .596 สูง

จากตารางที่ 8 ผลการวิเคราะหระดับระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานลดการเกิดมูลฝอย พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานลดการเกิดมูลฝอย ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.42 (SD = .596)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับสูง 3 ขอคําถาม และอยูในระดับปานกลาง 1 ขอนําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ สภาพของชุมชนมีความเปนระเบียบเรียบรอยมากขึ้นหลังจากเขารวมโครงการจัดการขยะ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.58 (SD = .615) รองลงมาคือปริมาณขยะรีไซเคิลในชุมชนมีจํานวนมากขึ้นเมื่อเทียบกับกอนเขา

Page 58: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

49

รวมโครงการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.47 (SD = .541) และอันดับสุดทายคือ ปริมาณขยะในชุมชนลดนอยลงเมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.21 (SD = .750)

2. ดานการคัดแยกมูลฝอยตารางที่ 9 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขต บางเขน ดานการคัดแยกมูลฝอย

ระดับประสิทธิผลดานการคัดแยกมูลฝอย

X SDแปลผล

1.แตละครัวเรือนมีการคัดแยกขยะมูลฝอยทุกครั้งกอนที่จะทิ้งลงถังขยะ

3.11 .774 ปานกลาง

2.สามารถแยกคัดแยกขยะไดอยางถูกตองตามประเภทของขยะ 3.31 .662 ปานกลาง

3.มีถังขยะรองรับบริเวณรวบรวมขยะที่ถูกคัดแยกแลวจัดวางอยางเพียงพอและเหมาะสม

3.29 .759 ปานกลาง

รวม 3.24 .658 ปานกลาง

จากตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหระดับระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการคัดแยกมูลฝอย พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการคัดแยกมูลฝอย ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.24 (SD = .658)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 3 ขอคําถามนําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ สามารถแยกคัดแยกขยะไดอยางถูกตองตามประเภทของขยะ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.31 (SD = .662) รองลงมาคือมีถังขยะรองรับบริเวณรวบรวมขยะที่ถูกคัดแยกแลวจัดวางอยางเพียงพอและเหมาะสม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.29 (SD = .759) และอันดับสุดทายคือ แตละครัวเรือนมีการคัดแยกขยะมูลฝอยทุกครั้งกอนที่จะทิ้งลงถังขยะ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.11 (SD = .774)

Page 59: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

50

3. ดานการใชประโยชนตารางที่ 10 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขต บางเขน ดานการใชประโยชน

ระดับประสิทธิผลดานการใชประโยชน

X SDแปลผล

1.หลังจากดําเนินโครงการมีสมาชิกในชุมชนเขามาจําหนายขยะมูลฝอยมีเพิ่มมากขึ้น

2.90 .826 ปานกลาง

2.มีโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชน เชน ธนาคารขยะในชุมชน การใชลอยางรถยนตมาปลูกผักสวนครัว

2.77 .974 ปานกลาง

3.การดําเนินโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชนสงผลตอการเพิ่มมูลคาขยะชุมชนมากขึ้น

3.25 .824 ปานกลาง

รวม 2.97 .783 ปานกลาง

จากตารางที่ 10 ผลการวิเคราะหระดับระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการใชประโยชน พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการใชประโยชน ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD = .783)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 3 ขอคําถามนําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ การดําเนินโครงการขยะ รีไซเคิลในชุมชนสงผลตอการเพิ่มมูลคาขยะชุมชนมากขึ้น มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.25 (SD = .824) รองลงมาคือ หลังจากดําเนินโครงการมีสมาชิกในชุมชนเขามาจําหนายขยะมูลฝอยมีเพิ่มมากขึ้น มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.90 (SD = .826) และอันดับสุดทายคือ มีโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชน เชน ธนาคารขยะในชุมชน การใชลอยางรถยนตมาปลูกผักสวนครัว มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.77 (SD = .974)

Page 60: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

51

4. ดานการรวบรวมมูลฝอยตารางที่ 11 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขต บางเขน ดานการรวบรวมมูลฝอย

ระดับประสิทธิผลดานการรวบรวมมูลฝอย

X SDแปลผล

1.มีจุดรวบรวมขยะมูลฝอย หลายจุดและสามารถใหรถเก็บขยะเก็บขนไดอยางสะดวก

3.25 .794 ปานกลาง

2.มีการแยกสีถังขยะแตประเภทอยางเดนชัด เชนสีเขียว สีแดง สีเหลือง

3.13 .790 ปานกลาง

3.มีปริมาณถังขยะเพียงพอในการรองรับปริมาณในแตละจุดรวบรวมรวบรวมขยะ

2.99 .801 ปานกลาง

รวม 3.12 .750 ปานกลาง

จากตารางที่ 11 ผลการวิเคราะหระดับระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการรวบรวมมูลฝอย พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานการรวบรวมมูลฝอย ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.12 (SD = .750)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับปานกลางทั้ง 3 ขอคําถามนําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ มีจุดรวบรวมขยะมูลฝอย หลายจุดและสามารถใหรถเก็บขยะเก็บขนไดอยางสะดวก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.25 (SD = .794) รองลงมาคือมีการแยกสีถังขยะแตประเภทอยางเดนชัด เชนสีเขียว สีแดง สีเหลือง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.13 (SD = .790) และอันดับสุดทายคือ มีปริมาณถังขยะเพียงพอในการรองรับปริมาณในแตละจุดรวบรวมรวบรวมขยะมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.99 (SD = .801)

Page 61: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

52

4.4 การวิเคราะหสหสัมพันธระหวางตัวแปรการมีสวนรวมในสวนนี้ผูศึกษาจะใชสถิติสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Product Correlation) มา

ทดสอบเพื่อหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมิติการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทุกดานรวมกันเพื่อใหแนใจวาตัวแปรแตละดานไมมีความสัมพันธกัน กลาวคือ สหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระตองไมเกิน .75 จึงจะไมเปนการละเมิดขอจํากัดของการทดสอบถดถอยพหุคูณในการศึกษาตัวแปรอิสระที่มีอํานาจในการพยากรณขั้นตอไป การวิเคราะหขอมูลปรากฏผลดังตารางที่ 12

ตารางที่ 12 แสดงคาสถิติพื้นฐานและเมตริกสหสัมพันธระหวางตัวแปรการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทั้ง 4 ดาน

ตัวแปร ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา

ดานรวมปฏิบัติงาน

ดานรวมติดตามผลและประเมินผล

ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา

1.000

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา

.859** 1.000

ดานรวมปฏิบัติงาน .939** .824** 1.000ดานรวมติดตามผลและประเมินผล

.929** .877* .915** 1.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตารางที่ 12 แสดงใหเห็นวา ผลที่ไดจากการวิเคราะหสหสัมพันธเพียรสัน พบวา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปร จะมีความสัมพันธกันในระดับสูงระหวาง .824 - .939 ซึ่งอาจกอใหเกิดคา Collinerity ระหวางตัวแปรอิสระได แตเนื่องจากการมีสวนรวมของผูนําชุมชนดังกลาว จัดเปนการศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีของนักวิชาการหลายทานไดกลาวอางถึง ประกอบกับทุกกระบวนการของการมีสวนรวมดังกลาว เปนขั้นตอนสําคัญที่ผูนําชุมชนจะตองดําเนินการในการจัดการมูลฝอยใหเกิดประสิทธิผล ผูศึกษาจึงจะนําตัวแปรดังกลาวทุกตัวมาใชในการทดสอบสมมติฐาน โดยตระหนักถึงปญหาดังกลาว เมื่อทําการพิจารณาคัดเลือกตัวแปรเขาสูสมการ

สําหรับการทดสอบสอบอิทธิพลของตัวแปรตนที่มีตอตัวแปรตามผูศึกษาใชการวิเคราะหสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) โดยวิธี Stepwise เพื่อสรางสมการถดถอยในการ

Page 62: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

53

พยากรณประสิทธิผลการปฏิบัติงาน จากตัวแปรการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทั้ง 4 ดาน โดยกําหนดคาระดับนัยสําคัญสูงสุดของการยังคงทําใหตัวแปรอิสระอยูในสมการเปน 0.100 (Probability of F-to-remove ≥ 0.100) ซึ่งจากการวิเคราะหปรากฏผลดังตารางที่ 13 และตารางที่ 14 ดังนี้

4.5 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ เพื่อทดสอบสมมติฐานการทดสอบสมมติฐาน ผูศึกษาใชการวิเคราะหสัมประสิทธการถดถอยพหุคูณ (Multiple

Regressions) โดยวิธี Stepwise เพื่อสรางสมการในการพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนจากตัวแปรการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทั้ง 4 ดาน ซึ่งจากการวิเคราะหปรากฎผลดังนี้

ตารางที่ 13 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุ

Model R R SquareAdjustedR Square

Std. Error ofThe Estimate

1 .936 .877 .875 .230982 .953 .909 .906 .19963

Model 1 Predictors : (Constant), การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลModel 2 Predictors : (Constant), การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงานDependent Variable : ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน (EFF)

จากตารางที่ 13 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) โดยวิธี Stepwise ปรากฏวามีตัวแบบจําลอง (Model Summary) ความสัมพันธระหวางตัวแปรการบริหารจัดการที่สามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานได ทั้งหมด 2 ตัวแบบ ซึ่งสามารถอธิบายความหมายได ดังนี้

ตัวแบบที่ 1 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (Multiple Correlation: R) เทากับ .936 และตัวแปรอิสระทั้ง 1 ตัว คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล มีอิทธิพลตอตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน โดยสามารถพยากรณตัวแปรตามไดรอยละ 87.7 (R2 = .877) และการพยากรณตัวแปรอิสระทั้ง 1 ตัวแปร มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณตัวแปรตามเทากับ .23098

Page 63: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

54

ตัวแบบที่ 2 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) เทากับ .953 และตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัว คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงานมีอิทธิพลตอตัวแปรตาม คือประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน โดยสามารถพยากรณตัวแปรตามไดรอยละ 90.9 (R2 = .909) และการพยากรณตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปร มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณตัวแปรตามเทากับ .19963

ตารางที่ 14 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทางANOVA(d)

ModelSum of Squares

df Mean Square F Sig.

1 Regression Residual Total

27.6413.895

31.536

17374

27.641.053

518.094 .000

2 Regression Residual Total

28.6672.869

31.536

27274

14.333.040

359.662 .000

Model 1 Predictors : (Constant), การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลModel 2 Predictors : (Constant), การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงานDependent Variable : ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

จากตารางที่ 14 เปนการวิเคราะหความแปรปรวนเพื่อตรวจสอบวาตัวแปรอิสระในตัวแบบ (Model) สามารถใชพยากรณตัวแปรตามไดหรือไม โดยหากมีคานอยกวาคาระดับนัยสําคัญที่กําหนด คือ .05 แสดงวาตัวแปรอิสระใชพยากรณตัวแปรตามได และเมื่อพิจารณาจากตารางสามารถอธิบายได ดังนี้

ตัวแบบที่ 1 แสดงวาสามารถใชตัวแปรอิสระทั้ง 1 ตัว คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล มาพยากรณตัวแปรตามได เนื่องจากคา Sig. (.000) มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

ตัวแบบที่ 2 แสดงวาสามารถใชตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัว คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงาน มาพยากรณตัวแปรตามได เนื่องจากคา Sig. (.000) คานอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

Page 64: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

55

จากการวิเคราะหโดยนําตัวแปรอิสระทั้ง 4 ตัวเขาสมการ แลวทดสอบคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม หากไมพบนัยสําคัญทางสถิติก็จะขจัดออกจากสมการ แลวทดสอบตัวแปรที่เหลือตอไป จนกระทั่งสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามมีนัยสําคัญทางสถิติ

จากตัวแบบทั้ง 2 แบบขางตน ผูศึกษาไดวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) และคาสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอย (R2) พบวา ตัวแบบที่ 1 มีคา R เทากับ.936 โดยมีคา R2 เทากับ .877 และตัวแบบที่ 2 มีคา R เทากับ .953 โดยมีคา R2 เทากับ .909 ซึ่งมีขนาดคาแตกตางจากตัวแบบที่ 1 คอนขางมาก ผูศึกษาจึงเลือกใชตัวแบบที่ 2 และเพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นจึงวิเคราะหตอไปถึงคาความแปรปรวน (F) และคาสถิติที (t) พบวา ตัวแบบที่ 2 แสดงใหเห็นถึงคาความแปรปรวน (F) ที่มีคาเทากับ 359.662 ซึ่งเปนคาต่ําที่สุดในระหวาง ตัวแบบทั้ง 2 และมีคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .000 (sig. < .05) สามารถแปลความหมายไดวา ชุดตัวแปรอิสระหรือตัวแปรพยากรณ สามารถพยากรณตัวแปรตามไดอยางมีนัยสําคัญ เชนกัน

จากตัวแบบที่ 2 พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนมีอิทธิพลตอการพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนที่ถูกคํานวณดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) มีคาเทากับ .953 และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอย (R2) มีคาเทากับ .909 แสดงใหเห็นวา ความแปรปรวนตามหรือประสิทธิผลการปฏิบัติงานถูกพยากรณโดยตัวแปรตนหรือการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทั้งหมดเทากับรอยละ 90.9 สวนอีกรอยละ 9.1 ถูกพยากรณตัวแปรอื่นๆ นอกตัวแบบที่ 2 อธิบายไดวา ตัวแปรตามที่ถูกพยากรณโดยตัวแปรอิสระ คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงาน ทั้งหมดพรอมกันเทากับรอยละ 90.9 จึงเปนการยอมรับสมมติฐานที่ 3 และ 4

Page 65: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

56

ตารางที่ 15 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคุณดวยวิธี Stepwise

ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการUnstandardized

Coefficientsตัวแปรβ St.Error

StandardizedCoefficients

Beta t Sig.(Constant)การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลการมีสวนรวมปฏิบัติงาน

.408

.500

.432

.107

.083

.085.528.446

3.8136.0085.072

.000

.000

.000

ตัวแปรที่ถูกคัดออก

ตัวแปร Beta In t Sig.partial

Correlation

CollinearityStatisticsTolerance

การมีสวนรวมคนหาและสาเหตุการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา

-.017-.092

-.137-1.238

.891

.220-.016-.145

.088

.228

จากตารางที่ 15 ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์ความถดถอยมาตรฐาน (Beta) โดยวิธีการคัดเลือกตัวแปรแบบ Stepwise ปรากฏวา ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการทํานายและปรากฏนัยสําคัญทางสถิติ (Sig < .05) มีทั้งสิ้น 2 ตัวแปร โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนและเปนไปในทิศทางเชิงบวก ไดแก การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล (Beta =.528) และการมีสวนรวมปฏิบัติงาน (Beta = .446)

สวนตัวแปรที่ถูกคัดออกจากสมการและไมเปนตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี 2 ตัวแปร คือ การมีสวนรวมคนหาและสาเหตุ (Beta = -0.17, Sig = .891) และการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา(Beta = -0.92, Sig = .220) แปลความหมายไดวา ตัวแปรการมีสวนรวมคนหาและสาเหตุและการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา ไมสามารถนํามาใชทํานายประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนได จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 1 และ 2 ซึ่งสามารถแสดงภาพตัวแบบการถดถอยพหุคูณ ไดดังนี้

Page 66: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

57

แผนภาพที่ 2 ตัวแบบการถดถอยพหุคูณของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการ มูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

จากผลการทดสอบสมมติฐาน สามารถสรุปไดวา การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล, การมีสวนรวมปฏิบัติงาน มีสวนชวยทํานายประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนคิดเปนรอยละ 90.9 และสามารถสรางเปนสมการถดถอยพหุ ดังนี้

ประสิทธิผลการจัดการขยะมูลฝอย = .408 (Constant) + .500 การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล +.432 การมีสวนรวมปฏิบัติงาน

รวมติดตามผลและประเมินผล

รวมปฏิบัติงาน

ประสิทธิผลการจัดการขยะมูลฝอย

.528

.446

R Square = .909

Model Fit F Sig. 359.662 .000

Page 67: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

58

ตารางที่ 16 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานผลการทดสอบสมมติฐาน

สมมติฐานยอมรับ ปฏิเสธ

สมมติฐา นที่ 1 การมีส วนร วมคนหาและสา เหตุมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

สมมติฐานที่ 2 การมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหามีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

สมมติฐานที่ 3 การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

สมมติฐานที่ 4 การมีสวนรวมปฏิบัติงานมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

Page 68: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

59

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน เขตบางเขน มีวัตถุประสงค 3 ประการดังนี้ ประการแรกเพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนเขตบางเขน ประการที่สองเพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยเขตบางเขน และประการสุดทายเพื่อศึกษาอิทธิพลของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ประชาการที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน จํานวน 75 ชุมชน โดยจะทําการศึกษาผูนําชุมชน คือ คณะกรรมการชุมชนที่จดทะเบียนเปนชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 จํานวน 75 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน รวมเปน 150 คน เพื่อเปนกลุมตัวอยางในการศึกษา ทําการสํารวจเก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม (Questionnaire) สําหรับการวิเคราะหขอมูลใชสถิติเชิงพรรณนา เพื่อบรรยายลักษณะตัวแปรตางๆ ไดแก คาแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะหสหสัมพันธ (Correlation Analysis) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ดวยวิธีคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise

สําหรับในบทนี้เปนการสรุป การอภิปรายผล และขอเสนอแนะ นําเสนอตามลําดับดังนี้5.1 สรุปผล5.2 การอภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา5.4 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งตอไป

5.1 สรุปผล5.1.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางคณะกรรมการชุมชนที่จดทะเบียนเปนชุมชนตาม

ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 จํานวน 150 คน สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ 61 ปขึ้นไป คิดเปนนอยละ 41.3 มีอาชีพ อื่นๆ คือ ขาราชการบํานาญ คิดเปนรอยละ 49.4 และมีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 45.3

Page 69: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

60

5.1.2 ระดับการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ผลการศึกษาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ประกอบดวย 4 ดาน

ไดแก ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา ดานรวมปฏิบัติงาน และดานรวมติดตามผลและประเมินผล ซึ่งโดยภาพรวมแลวอยูในระดับปานกลาง คือมีคาเฉลี่ย 3.00 และเมื่อแยกพิจารณาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนทั้ง 4 ดาน พบวา ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหาและดานรวมปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากันคือ 3.02 รองลงมาคือ ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา คาเฉลี่ย 2.99 และดานรวมติดตามผลและประเมินผล คาเฉลี่ย 2.95 ตามลําดับ

5.1.3 ระดับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ผลการศึกษาประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ประกอบดวย 4 ดาน

ดังนี้ ดานลดการเกิดมูลฝอย ดานการคัดแยกมูลฝอย ดานการใชประโยชน และดานการรวบรวมมูลฝอย ซึ่งโดยภาพรวมอยูระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.19 เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวาดานลดการเกิดมูลฝอยมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ 3.42 รองลงมาคือ ดานคัดแยกมูลฝอย คาเฉลี่ย 3.24 ดานรวบรวมมูลฝอย คาเฉลี่ย 3.12 และอันดับสุดทายคือดานใชประโยชน คาเฉลี่ย 2.97

5.1.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน การมีสวนรวมของผูนําชุมชนสามารถพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน

เขตบางเขน ไดรอยละ 90.9 โดยการมีสวนรวมของผูนําชุมชนดานที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ไดแก ดานการมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล และดานการมีสวนรวมปฏิบัติงาน สวนดานการมีสวนรวมคนหาและสาเหตุ และดานการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

5.2 การอภิปรายผลการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนจาก

ผลการศึกษามีประเด็นที่สามารถนํามาอภิปรายผล ดังนี้5.2.1 การมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดของเจิมศักดิ์ ปนทอง (2547) และแนวคิด

ของอคิน รพีพัฒน (2527) มาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิด ผลการศึกษาพบวาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขน ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.00) สอดคลองกับผลการศึกษาของสมชาย เขียวออน (2554) เรื่องการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน และวิจักษ คันธะมาลย (2552 ) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตําบลสตึก อําเภอ สตึก จังหวัดบุรีรัมย และ กัลยา สัมมาแอ

Page 70: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

61

(2550) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลคลองขุด อําเภอเมือง จังหวัด สตูล พบวา ระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยภาพรวมอยูในระดับปานกลางเชนกัน

จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญแตละดานดังนี้ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา พบวา มีคาเฉลี่ย 3.02 แสดงใหเห็นวาการมีสวน

รวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนนั้น ใหความสําคัญกับดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา เปนอยางยิ่ง เนื่องจากผูนําชุมชนไดเขาไปมีสวนรวมกับสํานักงานเขตบางเขนในการสํารวจคนหาสาเหตุของปญหามูลฝอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยการเขารวมประชุมเสนอความตองการและแนวทางในการแกไขปญหามูลฝอยในชุมชน ซึ่งพบวา ปจจุบันปญหาสิ่งแวดลอมในเขตบางเขนมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น กลาวคือในรอบสิบปที่ผานมาปริมาณขยะไดเพิ่มจํานวนสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เนื่องจากการเพิ่มจํานวนประชากรและชุมชนเมืองขยายตัว ภาวการณดังกลาวดูเหมือนจะสงผลดีในภาพรวม แตกลับทําใหเกิดปญหาตามมาอยางมากมาย โดยเฉพาะปญหามูลฝอย ในขณะที่ความสามารถในการเก็บขนและกําจัดขยะมีจํากัดไมทันกับสถานการณ เปนเหตุใหเกิดปญหาขยะตกคาง สงกลิ่นรบกวน เกิดปญหาดานทัศนียภาพหรือที่ เรียกวามลทัศน และผลกระทบตอสุขอนามัยที่ดีของประชาชน

สําหรับเขตบางเขนตั้งอยูในพื้นที่เขตชั้นนอก มีประชากรตามทะเบียนราษฎรจํานวน 1,68,765 คน แบงเขตปกครองออกเปน 2 แขวงคือ แขวงอนุสาวรีย จํานวน 106,547 คน และแขวงทาแรง 62,218 คน (สํานักงานเขต, 2556) โดยปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแตละวันประมาณ 196.66 ตัน/ วัน (กองนโยบายและแผนงาน, 2556) นับวาเปนพื้นที่ที่มีปริมาณขยะคอนขางมาก แตสํานักงานเขตบางเขนก็ไมสามารถจัดเก็บขยะดังกลาวไดครบทุกแหงภายในวันเดียวกัน เนื่องจากจํานวนบุคลากร วัสดุอุปกรณ ของสํานักงานเขตไมเพียงพอ

จากปญหาที่กลาวมาทําใหผูนําชุมชนทั้ง 75 ชุมชนในเขตบางเขน พยายามแสวงหาแนวทางในการแกไขปญหารวมกับสํานักงานเขต โดยไดเขามามีสวนรวมในการคนหาสาเหตุปญหามูลฝอย มีการดําเนินการใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะวิธีการจัดการมูลฝอย รวมวิเคราะหปญหา จุดออน จุดแข็งของชุมชน และรวมตัดสินใจเลือกวิธีการจัดการและแนวทางแกไขปญหามูลฝอยกับสมาชิกในชุมชนและเจาหนาที่เขต โดยพิจารณาการจัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนในการแกไขปญหาการจัดการมูลฝอย เชน ชุมชนหมูบานพรอมสุข พบวาปญหาที่เรงดวนคือ ขาดบุคลากรระดับปฏิบัติที่มีความรูความชํานาญในการจัดการแกไขปญหามูลฝอย จึงรองขอใหเจาหนาที่จากสํานักงานเขตบางเขนใหเขามาใหแนวทางในการดําเนินการ เปนตน สอดคลองกับแนวคิดของ Tammemagi (1999 : 15-16) อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด

Page 71: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

62

ของการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย มีสาระสําคัญคือ ทุกคนตองรวมกันแกไขปญหาเพราะความหลากหลายทางธรรมชาติของมูลฝอยสงผลใหการจัดการมูลฝอยกลายเปนปญหาสังคมที่รุนแรงมาก

ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา พบวา มีคาเฉลี่ย 2.99 แสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนนั้นใหความสําคัญกับการรวมวางแผนในระดับปานกลาง โดยผูนําชุมชนใหความสําคัญในการวิเคราะหขอมูลและวางแผนการแกไขปญหามูลฝอยอยางเปนขั้นเปนตอนในการจัดการเพื่อแกไขปญหามูลฝอยในชุมชน ดังเชน ชุมชนหมูบานเกาแสนสอง และชุมชนหมูบานปนทอง ไดกําหนดวางแผนแนวทางการจัดการมูลฝอยอยางครบวงจรในชุมชน โดยมีขั้นตอนการดําเนินการ ตั้งแต 1) จัดตั้งคณะกรรมการดําเนินการและประชุมคณะกรรมการเพื่อกําหนดแนวทางการดําเนินงานและติดตามผล 2) กําหนดสถานที่ที่เหมาะสมในการจัดตั้งภาชนะรองรับขยะแตละประเภทโดยพื้นที่ที่เหมาะสมควรเปนพื้นที่ที่ไมมีน้ําทวมขัง ไมอับชื้น แสงแดดสองถึง รถขยะสามารถเขาถึงไดสะดวก 3) กําหนดประเภทและขนาดของภาชนะสําหรับใส ขยะแตละประเภท โดยกําหนดทั้งสี และเขียนคําบรรยายใหถูกตองดังนี้ สีเหลือง – ถังเก็บขยะรีไซเคิล สีเขียว –ถังเก็บขยะยอยสลายได สีฟา – ถังเก็บขยะทั่วไป และสีแดง – ถังเก็บขยะมีพิษ 4) นําถังรองรับขยะไปจัดวางตามแหลงกําเนิดขยะที่สําคัญ เชน ตลาดสด โรงเรียน สถานที่ราชการ หางสรรพสินคา โรงแรม และที่พักอาศัย เปนตน 5) ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงรูปแบบของกิจกรรมโดยจัดทําเอกสารเพื่อแจกจายแกประชาชนในชุมชน โดยเอกสารจะตองบอกถึงวิธีทาความสะอาดขยะขั้นตน การลดขนาดขยะสีของถังขยะกับประเภทขยะ วันและเวลาในการเก็บรวบรวม และ 6) ติดตามและประเมินผลเพื่อประเมินความสําเร็จในการจัดการมูลฝอย ซึ่งการวางแผนและแกปญหาแบบครบวงจรนี้ จึงเปนผลทําใหชุมชนหมูบานเกาแสนสอง และชุมชนหมูบ านปนทองสามารถลดปริมาณมูลฝอยในชุมชนได สอดคลองกับผลการศึกษาของ ศเนติ พาจรทิศ (2547 ) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ผูมีสวนเกี่ยวของสําคัญมีสวนรวมในการวางแผนและการตัดสินใจ และสอดคลองกับนงนุช ใจโต (2548) เรื่อง การจัดการมูลฝอยของตําบลดอนแกว ผลการศึกษาพบวา การกําหนดระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลนั้นเกิดจาก การมีสวนรวมในการจัดการจัดการปญหา รวมกันคิดรวมกันตัดสินใจ

ดานรวมปฏิบัติงาน พบวา มีคาเฉลี่ย 3.02 แสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่ เขตบางเขนนั้นใหความสําคัญกับดานรวมปฏิบัติงานเปนอยางยิ่ง สอดคลองกับผลการศึกษาของปฤษฐา พฤมิวิชญ (2547 ) เรื่อง การมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจําแนกประเภทมูลฝอยที่ใชในชีวิตประจําวันกอนทิ้ง เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา ผูนํา

Page 72: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

63

ชุมชนใหความสําคัญกับการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดการมูลฝอยในชุมชนอยางทั่วถึง เห็นไดจากการรวมประชุมอบรมใหความรูถึงคุณประโยชนจากขยะและวิธีการคัดแยกมูลฝอยอยางตอเนื่อง เชน กรณีของชุมชนหมูบานคงหิรัญ และชุมชนสื่อสารรวมใจสามัคคี ผูนําชุมชนและกรรมการ ไดรวมปฏิบัติคัดการแยกมูลฝอยรวมกับสมาชิกในชุมชน โดยการแยกประเภทมูลฝอยเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1) มูลฝอยเปยก ไดแก เศษอาหาร เศษพืชผัก เศษผลไม อินทรียวัตถุที่ยอยสลาย ไดงาย มีความชื้นสูงและสงกลิ่นเหม็นไดเร็ว ตองเรงเก็บขนและกําจัด 2) มูลฝอยแหง ไดแก เศษอาหาร เศษผา แกว โลหะ ไมยาง และพลาสติก ฯลฯ ขยะ มูลฝอยนี้ มีทั้งกําจัดไดโดยการเผาและที่เผาไมได สวนหนึ่งเปนมูลฝอยที่สามารถคัดเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชนกลับมาใชประโยชนใหมไดอีก โดยคัดเลือกมูลฝอยกอนที่จะทิ้งซึ่งเปนการลดปริมาณมูลฝอยที่ตองทําลายและจะมีคุณประโยชนนานาประการ เชน มูลฝอยรีไซเคิลเปนมูลฝอยที่สามารถนํามาขายเพื่อสงไปผลิตเปนผลิตภัณฑใหมได เชน เศษโลหะถุงพลาสติกบางชนิดกลองพลาสติกและกระปองโลหะ เปนตนและ 3) มูลฝอยหรือของเสียอันตราย ไดแก สิ่งปฏิกูลและของเสียอื่น ๆ ที่มีลักษณะเปนพิษมีฤทธิ์ในการกัดกรอน และระเบิดไดงาย ซึ่งตองใชกรรมวิธีพิเศษกวาปกติในการจัดการเนื่องจากเปนวัสดุที่มีอันตรายโดยเฉพาะอยางยิ่งตอชีวิตมนุษย เชน สารฆาแมลง ถายไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต ฯลฯ มูลฝอยหรือของเสียอันตรายเหลานี้บางชนิดตองระมัดระวังเปนพิเศษเพราะมีลักษณะเปน “มูลฝอยติดเชื้อ” ที่มีอันตรายสูงเนื่องจากมูลฝอยมีประเภทแตกตางกัน ดังนั้น การจํากัดหรือทํางานมูลฝอยจึงตองมีกรรมวิธีที่แตกตางกันไป สอดคลองกับลักษณะของมูลฝอยนั้น ๆ ดวย ทําใหคนในชุมชนมีความเข าใจถึงวิธีปฏิบัติอย างชัดเจน และยังใหความรวมมือปฏิบัติตามขอกําหนดของกรุงเทพมหานครวาดวยมูลฝอยและรวมมือกับชุมชนในการแกไขปญหามูลฝอย อีกทั้งผูนําชุมชนยังไดจัดใหมีกิจกรรมรณรงคทําความสะอาดชุมชนและการคัดแยกกอนนําไปทิ้ง โดยมุงเนนการประสานงานใหผูประกอบการมารับซื้อขยะ และกําหนดจุดซื้อขายมูลฝอยในชุมชน

ดานรวมติดตามผลและประเมินผล มีคาเฉลี่ย 2.95 แสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนในพื้นที่เขตบางเขนนั้นใหความสําคัญกับดานรวมติดตามผลและประเมินผล ในระดับปานกลาง สอดคลองกับวรรณา สมศรี (2554) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยกรณีศึกษา: องคการบริหารสวนตําบลอรัญญิก อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก และเนตรชนก คําลอง (2550) เรื่อง การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยขององคการ บริหารสวนตําบลรูสะมิแอ อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี โดยดารศึกษาครั้งนี้ชี้ใหเห็นวาผูนําชุมชนมีความรูความเขาใจสนใจ และเอาใจใส ในการติดตามผลและประเมินผลตามแผนที่วางเอาไว โดยคณะกรรมการฝายติดตามและประเมินผลที่แตงตั้งไดมีการบันทึกปริมาณและประเภทของขยะที่ถูกนํามาทิ้งไว เพื่อวางแผนจัดการลดปริมาณมูลฝอยในชุมชนใหมีประสิทธิภาพ โดยการกําหนดกรอบเวลาในการ

Page 73: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

64

ติดตามประเมินผล และมีการจัดทําเกณฑประเมินผลการดําเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชน เชน ใหครอบคลุมพื้นที่เพื่อไมใหมีมูลฝอยตกคาง ซึ่งหากพบจุดที่มีมูลฝอยตกคางชุมชนก็จะมีการดําเนินการแกไขดังนี้ 1) กรณีที่จุดที่มีมูลฝอยตกคางในซอยเล็กจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเก็บรวบรวมใหมโดยจัดซื้อรถเก็บรวบรวมขนาดเล็กที่สามารถเขาออกในบริเวณดังกลาวไดอยางสะดวก 2) กรณีที่จุดที่มีมูลฝอยตกคางเปนบริเวณตลาดสดจะดําเนินการติดตั้งถังคอนเทนเนอรและแจงเวลาเก็บรวบรวมใหชัดเจน พรอมทั้งประสานงานใหพอคาแมคาและสมาชิกในชุมชนทั่วไปรับทราบ 3) กรณีรถเก็บรวบรวมมูลฝอยมีจํานวนไมเพียงพอหรือมีสภาพเสื่อมโทรม ชุมชนจะมีการทําแผนจัดหาครุภัณฑใหมหรือทดแทนของเดิม หรือรองขอความรวมมือไปยังสํานักเขตบางเขน นอกจากนี้ชุมชนยังมีการประชาสัมพันธรอบเวลาการเก็บรวบรวมมูลและเสนทางเก็บขนใหสมาชิกในชุมชนรับทราบลวงหนา กลวิธีเชนนี้ถือเปนแนวทางที่ผูนําชุมชนนํามาใชในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงาน ใหสามารถลดปริมาณขยะในชุมชน ผานการติดตามและประเมินผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน รวมถึงการรายงานผลการดําเนินงานการจัดการมูลฝอยตอชุมชน เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคอยางยั่งยืนยาวนาน

5.2.2 ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดของสํานักสิ่งแวดลอมกรุงเทพมหานคร(2553)

ซึ่งประกอบดวย การลดการเกิดมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอย การใชประโยชนมูลฝอย และการรวบรวมมูลฝอยมาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิด ซึ่งผลการศึกษาประสิทธิผลการจัดการ มูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.19

จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญในแตละดานไดดังนี้ดานลดการเกิดมูลฝอย พบวา มีคาเฉลี่ย 3.42 แตกตางจากการศึกษาของ สุนันทา ระหงส

(2550) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลคลองมะเดื่อ อําเภอ กระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ที่พบวา ประชาชนมีสวนรวมในการลดปริมาณการขจัดมูลฝอยในระดับนอย แตสอดคลองกับประภาวรรณ ศรีออนทอง (2550) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตําบลสถกบาตร อําเภอขาณวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร พบวา ประชาชนมีพฤติกรรมการลดปริมาณมูลฝอยโดยภาพรวมอยูในระดับสูง แสดงใหเห็นวาผูนําชุมชนเขตบางเขน เห็นวาการลดการเกิดมูลฝอยมีความสําคัญตอการจัดการมูลฝอยในชุมชนในเขตบางเขน โดยแนวทางการดําเนินงานนั้น จะเนนการสรางเสริมจิตสํานึกของสมาชิกในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดลอม การสงเสริมการมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงหรือลดการสรางมูลฝอยที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เชน เวลาที่จะซื้อสินคาที่ตลาดหรือรานคา

Page 74: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

65

ตาง ๆ ควรสนับสนุนใหนําถุงผามาใชแทนถุงพลาสติก โดยถุงที่แจกหรือถุงผาควรเปนถุงผาดิบที่ไมตองยอมสี เพื่อลดการทําลายสิ่งแวดลอมทั้งยังมีราคาถูก หรืออาจใสตะกราหรือภาชนะบรรจุลักษณะอื่น ๆ ที่ใชซ้ําไดหลาย ๆ ครั้ง เปนตน เชนนี้จะเปนการชวยลดปริมาณการใชถุงกระดาษหรือถุงพลาสติกจากรานคาได นอกจากนี้ควรเลือกซื้อสินคาที่มีอายุการใชงานยาวนาน ซื้อสินคาที่บรรจุภัณฑมีปริมาณมากแทนบรรจุภัณฑที่มีปริมาณนอย เพื่อลดปริมาณขยะจากบรรจุภัณฑที่จะเกิดขึ้น ยกตัวอยางเชน ชุมชนหมูบานรุงสวางวิลเลจ เสนอวากอนทิ้งมูลฝอยลงในถังรับรองมูลฝอยจะพิจารณากอนวามูลฝอยที่จะทิ้งนั้นนําไปใชประโยชนอยางอื่นไดอีกหรือไม ถาพิจารณาแลววาสามารถนําไปใชประโยชนอยางอื่นไดก็ไมควรที่จะทิ้งเพื่อการนําของเสียกลับมาใชประโยชนใหม อันเปนวิธีการที่สามารถแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและชวยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนคาใชจายในการจัดการ มูลฝอย จากแนวทางดังกลาวเปนผลใหปริมาณขยะในชุมชนหมูบาน รุงสวางวิลเลจลดนอยลง เมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ ดวยเหตุนี้ผูนําชุมชนหลายชุมชนจึงมุงเนนการรณรงคลดการเกิดมูลฝอยเพื่อใหสภาพของชุมชนมีความเปนระเบียบเรียบรอยมากขึ้น หลังจากเขารวมโครงการจัดการขยะ สอดคลองกับแนวคิดของพูลศักดิ์ ประณุทนรพาล (2540) กลาววา การลดการกอเกิดขยะ (Reduce at source) หรือการลดขยะจากแหลงที่เกิด ดวยการพยายามหลีกเลี่ยงหรือลดการเกิดขยะที่จะเกิดขึ้นและวิธีการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพสูงสุดคือ ไมสรางขยะขึ้นมาเพราะจะสงผลใหประหยัดงบประมาณที่จะตองใชในการกําจัดขยะและของเสียที่เกิดขึ้น

ดานคัดแยกมูลฝอย พบวา มีคาเฉลี่ย 3.24 แสดงใหเห็นวาการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดานคัดแยกมูลฝอยมีความสําคัญตอการจัดการมูลฝอยในชุมชน สอดคลองกับแนวคิดของอดิศักดิ์ ทองไขมุกต และคณะ(2541) ไดเสนอระบบจัดการมูลฝอยที่สําคัญคือ การคัดแยกประเภทมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด ทั้งนี้เนื่องจากการคัดแยกมูลฝอยเปนขั้นตอนที่ดําเนินการภายหลังการเกิดขึ้นมูลฝอย และถือวาเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีความสําคัญตอระบบการนํามูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหม โดยเฉพาะการลดการปนเปอนของวัสดุรีไซเคิล รวมทั้งลดปริมาณมูลฝอยที่จะนําไปกําจัดทิ้งขั้นสุดทายลงได สําหรับวิธีการคัดแยกขยะโดยทั่วไปสามารถดําเนินการได 2 วิธี คือการคัดแยกขยะในแหลงที่พักอาศัย ขยะจําพวกเศษอาหาร แกว กระดาษ โลหะพลาสติก และมูลฝอยอันตรายที่เกิดขึ้นภายในบานเรือน อาคารสํานักงาน สถาบันการศึกษา โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรมและที่อยูอาศัยอื่น ๆ ขยะจะถูกคัดแยกและเก็บรวบรวมไวในถุงบรรจุมูลฝอยตามประเภท เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชน หรือกําจัดตอไป และการคัดแยกมูลฝอยรวมในชุมชน ทั้งนี้หนวยงานที่รับผิดชอบดานการจัดการมูลฝอยจะจัดใหมีภาชนะรองรับมูลฝอยหรือสถานที่ทิ้งมูลฝอยรวมของชุมชนซึ่งแบงตามประเภท/ ชนิดของขยะที่ตองการใหมีการคัดแยก

Page 75: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

66

เชน ภาชนะรองรับมูลฝอยยอยสลาย มูลฝอยรีไซเคิล และมูลฝอยอันตราย เปนตน โดยภาชนะดังกลาวจะถูกจัดวางอยูในบริเวณพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยูอยางหนาแนน เชน ตลาด ที่พักอาศัย สถาบันการศึกษา และชุมชนอุตสาหกรรม ผลการศึกษา พบวา ชุมชนที่เขารวมโครงการสามารถแยกคัดแยกขยะไดอยางถูกตองตามประเภทของขยะ โดยมีถังขยะรองรับบริเวณรวบรวมขยะที่ถูกคัดแยกแลวจัดวางอยางเพียงพอและเหมาะสม อีกทั้งแตละครัวเรือนมีการคัดแยกมูลฝอยทุกครั้งกอนที่จะทิ้งลงถังขยะ นอกจากการคัดแยกแลวชุมชนชุมชนพลังสามัคคี ไดนําเสนอวิธีดําเนินการนํามูลฝอยมาใชประโยชน ทั้งในสวนของการใชซ้ําและการแปรรูปดวยการจัดการระบบรีไซเคิล หรือการนําไปแปรรูปเพื่อนํามาใชประโยชนใหม โดยรณรงคใหคัดแยกมูลฝอยตามประเภท ทั้งที่บาน โรงเรียน และสํานักงานที่อยูในชุมชน โดยการนําไปขายสําหรับมูลฝอยที่ขายได สวนมูลฝอยเปยก หรือเศษอาหารก็จะนํามาทําปุยหมักและปุยน้ําชีวภาพ อยางไรก็ดี การแยกมูลฝอย มีหลายประเภทขึ้นอยูกับพื้นที่แยกมูลฝอยและความพรอมในการดําเนินการ เชน แยกเปน 2 ประเภท คือ มูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยแหง แยกเปน 3 ประเภท คือ มูลฝอยอินทรีย มูลฝอยแหง และมูลฝอยรีไซเคิล และแยกเปน 4 ประเภท คือ มูลฝอยอินทรีย มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยที่ยอยสลายไมได และมูลฝอยมีพิษ โดยถุง/ ถังบรรจุมูลฝอย สําหรับมูลฝอยแตละประเภทก็จะมีสีแตกตางกันชัดเจน เพื่อใหสํานักงานเขตบางเขนนําไปจัดเก็บ โดยการจัดเก็บนั้นจะตามระยะเวลาเวลา เชน หากแยกเปน 4 ถุง 4 ประเภท คือ มูลฝอยอินทรีย มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอันตราย และมูลฝอยทั่วไปใหจัดเก็บมูลฝอยยอยสลายและมูลฝอยทั่วไปทุกวัน สวนมูลฝอยรีไซเคิล และมูลฝอยอันตรายอาจเก็บสัปดาหละครั้ง หรือตามความเหมาะสม นอกจากนี้บางชุมชนยังไดมีการจัดกลุมสมาชิกที่มีอาชีพรับซื้อของเกาใหชวยเก็บมูลฝอยรีไซเคิลในรูปของการรับซื้อ โดยการแบงพื้นที่ในการจัดเก็บตามเวลาที่เหมาะสม แลวจึงประสานงานกับรานรับซื้อของเกา ที่อยูในพื้นที่หรือพื้นที่ใกลเคียงมารับซื้อมูลฝอยรีไซเคิล นอกจากนี้บางชุมชนยังมีการจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการนํามูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหม โดยการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของอาสาสมัครในชุมชนหรือในโรงเรียน เชน ตั้งศูนยรีไซเคิลในชุมชน โครงการธนาคารมูลฝอย รีไซเคิลแลกสิ่งของ เชน ตนไม ไข โครงการผาปาสามัคคีรีไซเคิล โครงการทําน้ําหมักจุลินทรีย ปุยหมัก ฯลฯ เปนตน ผลการศึกษาครั้งนี้ไมสอดคลองกับ ภานุ พนภัย (2550) เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลทาโพธิ์ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ที่พบวา ประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยสูงกวาการมีสวนรวมดานอ่ืน

ดานรวบรวมมูลฝอย พบวา เปนขั้นตอนที่ตอเนื่องมากจากการคัดแยกขยะและการลดขยะมูลฝอย ทั้งนี้จากประสิทธิภาพในการลดและคัดแยกขยะของชุมชน นอกจากนั้นสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2551) กลาววา ในการเก็บรวบรวมมูลมูลฝอย มักจะ

Page 76: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

67

เปนเรื่องของการมอบหมายใหผูมีหนาที่มาดําเนินการตามความเหมาะสม จึงเปนผลทําใหการรวบรวมขยะสวนที่เหลือกระทําไมมากนัก (โดยมีคาเฉลี่ย 3.12) สําหรับการเก็บรวบรวมขยะ มูลฝอย เพื่อสงไปกําจัดที่สถานกําจัดขยะมูลฝอย พบวา ผูนําชุมชนเห็นวาชุมชนของตนมีการเก็บรวบรวมโดยการเก็บขยะมูลฝอยใสไวในภาชนะ เพื่อรอพนักงานเก็บขยะมูลฝอยมาเก็บ ขนไปเทใสรวบรวมในรถบรรทุกขยะ หรือมีการรวบรวมใหพนักงานกวาดถนน เก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไวใหรถขยะ เพื่อที่จะขนสงตอไปยังสถานกําจัดขยะมูลฝอย ทั้งนี้การรวบรวมขยะมูลฝอยมักจะกระทําโดยการใชภาชนะที่มีฝาปดมิดชิด น้ําไมสามารถจะรั่วซึมได เชน ถังเหล็ก หรือถังพลาสติก แตการใชถังเหล็กอาจจะผุกรอนไดงายกวาถังพลาสติก สวนในที่สาธารณะก็จะมีการจัดถังขยะแยกสีแตละประเภทอยางเดนชัด เชน สีเขียวใส สีแดงใส สีเหลืองใส อีกทั้งยังมีปริมาณถังขยะเพียงพอในการรองรับปริมาณในแตละจุดรวบรวมรวบรวมขยะ ไมสอดคลองกับกัลยา สัมมาแอ (2550) เรื่อง ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลคลองขุด อําเภอเมือง จังหวัด สตูล ผลการศึกษา พบวา ปญหาอุปสรรคในการจัดการมูลฝอยคือ ถังรองรับมูลฝอยมีไมเพียงพอ นอกจากนี้ยังพบวาชุมชนหลายแหงมีจุดรวบรวมมูลฝอยหลายจุดและสามารถใหรถเก็บขยะเก็บขนไดอยางสะดวกไปยังสถานที่กําจัด ซึ่งอาจเปนการขนสงโดยตรงจากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยไปยังสถานกําจัด หรืออาจขนขยะมูลฝอยไปพักที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งเรียกวา สถานีขนถายขยะ กอนจะนําไปยังแหลงกําจัดตอไป

ดานใชประโยชน พบวา ในการใชประโยชนจากขยะมูลฝอยของชุมชนตาง ๆ ในเขตบางเขนยังมีประสิทธิผลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับประสิทธิผลดานอื่น ๆ(โดยมีคาเฉลี่ย 2.97) อยางไรก็ตาม เมื่อวิเคราะหจากการดําเนินการจัดการมูลฝอยดวยการใชประโยชน ก็พบวามีหลายชุมชนดําเนินโครงการขยะรีไซเคิลใชประโยชนและเพิ่มมูลคาขยะมูลฝอย เชน การแปรรูปใชใหมการใชซ้ํา การใชประโยชนดานพลังงาน การหมักปุย และการนําขยะมาเปนเชื้อเพลิงแข็ง ลักษณะเชนนี้ถือวาเปนการแยกวัสดุที่ไมสามารถนํากลับมาใชซ้ําออกจากขยะและรวบรวมมาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาขึ้นใหม (พูลศักดิ์ ประณุทนรพาล, 2540) ทั้งยังเปนวิธีการที่สามารถแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและชวยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนคาใชจายในการจัดการมูลฝอยอีกดวย ดังเชน ชุมชนหมูบานรุงสวางวิลเลจ และชุมชนอยูรวย มีการนํามูลฝอยมาใชประโยชนทั้งในสวนของการใชซ้ําและแปรรูปเพื่อใชใหม (Reuse & Recycle) รวมถึงการกําจัดที่ไดผลพลอยได เชน คัดแยกเพื่อจําหนาย ลดการทิ้งบรรจุภัณฑโดยการใชสินคาชนิดเติมใหม เชน ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน น้ํายาทําความสะอาดและถานไฟฉายชนิดชารตใหม ฯลฯ โดยมีการจัดระบบการรีไซเคิล หรือการรวบรวมเพื่อนําไปสูการแปรรูปเพื่อใชใหม มีการรณรงคใหสมาชิกในชุมชนแยกของเสียนํากลับมาใชประโยชนใหม เชน กระดาษ พลาสติก และโลหะ การจัดระบบที่เอื้อตอการทําขยะ

Page 77: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

68

รีไซเคิล โดยมีโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชน เชน ธนาคารขยะในชุมชน และการใชลอยางรถยนตมาปลูกผักสวนครัว นอกจากนี้ยังพบวา ชุมชนเพชราวุธ ไดมีการนําขยะกลับเขาสูกระบวนการผลิตใหมเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพ การแปรรูปกลองกระดาษ ใหเปนบัตรอวยพร การนําเศษแกวมาหลอมเปนภาชนะใสของ และแมกระทั่งเศษไมใบหญาที่สามารถแปรรูปใหเปนปุยใสตนไม เปนตน ทั้งนี้ผลการศึกษาพบวา หลังจากดําเนินโครงการขยะรีไซเคิลมีสมาชิกในชุมชนเขามาจําหนายมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น และสมาชิกหลายชุมชนไดนํามูลฝอยกลับมาใชประโยชน สอดคลองกับผลการศึกษาของศุภกร ทิมจรัส (2548) เรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พบวา ประชาชนในเขตจตุจักรมีการใชประโยชนจากมูลฝอยดวยการซอมแซมสิ่งของหรือมูลฝอยตาง ๆ เพื่อนํากลับไปใชใหมหรือนําไปขายตอ ดังนั้นการที่ชุมชนในเขตจตุจักรมีการนําขยะมาใชประโยชน จึงเปนทั้งการนํากลับมาผลิตใหม (Recycling) เพราะเปนการแยกวัสดุที่ไมสามารถนํากลับมาใชซ้ําออกจากขยะ และรวบรวมมาเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาขึ้นใหมหรือที่เรียกวา (Recycle ) และการนํามาใชซ้ํา (Reduce)

5.2.3 อิทธิพลของการมีสวนรวมของผูนําชุมชนตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน

จากการศึกษาการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ไดรอยละ 90.9 โดยตัวแปรที่มีอํานาจในการพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน คือ การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล (Beta =.528) และการมีสวนรวมปฏิบัติงาน (Beta = .446) ตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีคาสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน (Beta)เปนบวก แสดงใหเห็นวาหากผูนําชุมชนมีสวนรวมรวมปฏิบัติงานและติดตามผลและประเมินผลเพิ่มขึ้นประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนก็จะเพิ่มขึ้นดวย

โดยสามารถอภิปรายผลไดดังนี้การมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผลจากผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนดานการมีสวนรวมติดตามผลและ

ประเมินผลมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนไดสูงที่สุด (Beta =.528) ทั้งนี้ เปนผลสําเร็จมาจากการที่ผูนําชุมชนในเขตบางเขนสวนใหญจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนอยางสม่ําเสมอ หากเห็นวาโครงการยังไมบรรลุผลหรือเกิดปญหาอุปสรรคใดก็จะพยายามปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานใหสามารถลดปริมาณมูลฝอย ดังจะเห็นไดวา ผูนําชุมชนหลายแหงสนับสนุนใหสมาชิกเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและแกไขปญหาในการ

Page 78: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

69

ดําเนินการจัดการมูลฝอย ในรูปแบบการจัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลที่มาจากหลายฝาย ประกอบดวยผูนําชุมชนตาง ๆ ทั้ง 75 ชุมชนที่มีการปฏิบัติงานในโครงการนี้อยางจริงจัง โดยการออกตรวจประเมินผลการจัดการมูลฝอยในทุกชุมชนที่เขารวมโครงการรวมกับสํานักงานเขตบางเขน นอกจากนี้ยังมีการสอบถามผูมีสวนไดเสียโดยการทําการสํารวจเพื่อใหผูมีสวนไดเสียประเมินผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน เปนตน อันเปนผลทําใหผูนําชุมชนสามารถจัดการมูลฝอยในชุมชนไดอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพราะการเก็บขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหถึงขอดีและขอเสีย และนําไปปรับปรุงพัฒนาการดําเนินงานใหการจัดเก็บขยะมูลฝอยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ถือเปนหนาที่ที่ตองรับผิดชอบในการมีสวนรวมของผูนําและสมาชิกในชุมชนทั้งหมด นอกจากนี้ผูนําชุมชนยังใหความสําคัญตอการรายงานผลการดําเนินงานการจัดการมูลฝอยตอชุมชน เนื่องจากจะทําใหสมาชิกในชุมชนรวมประเมินตนเองวาการจัดการขยะมูลฝอยงานที่ทําไปนั้น ชุมชนไดรับประโยชนมากนอยหรือไมเพียงใด สอดคลองกับแนวคิดของเจิมศักดิ์ ปนทอง (2547) ที่กลาววา การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เปนขั้นตอนสุดทายที่สําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากจะทําใหผูเขารวมประเมินตนเองวางานที่ทําไปนั้นไดรับผลดี ไดรับประโยชนหรือไมอยางใด ซึ่งจะเปนประโยชนตอการดําเนินกิจกรรมอยางเดียวกันในโอกาสตอ ๆ ไป

การมีสวนรวมปฏิบัติงานจากผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมของผูนําชุมชนดานการมีสวนรวมปฏิบัติงานมี

อิทธิพลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน (Beta = .446) ในระดับคอนขางสูง ทั้งนี้เปนผลมาจากผูนําชุมชนในเขตบางเขนสวนใหญใหความรวมมือการประกอบกิจกรรมการจัดการมูลฝอยในชุมชนดวยความสมัครใจ โดยการรวมมือกันปฏิบัติงานเพื่อใหการจัดการเกี่ยวกับมูลฝอยดําเนินไปอยางมีคุณภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชน มีจัดการประชุมอบรมใหความรูถึ งคุณประโย ชนจา กขยะ และวิ ธีการ คัดแยกมูลฝอยอย างตอ เนื่องตามขอกํ าหนดของกรุงเทพมหานครที่วาดวยมูลฝอยโดยนําการรวมมือกับชุมชนในการแกไขปญหามูลฝอย การจัดใหมีการรณรงคทําความสะอาดชุมชนและการคัดแยกขยะกอนนําไปทิ้งทุกครั้ง นอกจากนี้ยังมีการประสานงานใหผูประกอบการมารับซื้อขยะที่คัดแยกไวในชุมชน โดยกําหนดจุดซื้อขายมูลฝอยในชุมชน ขณะที่บางชุมชนมีการพัฒนาเทคนิคการจัดการมูลฝอยนอกเหนือไปจากกรุงเทพมหานครกําหนด เชน ชุมชนหมูบานเธียรสวน และชุมชนหมูบานเกาแสนสอง ผูนําชุมชนไดมีการนําปฏิบัติการรณรงคจูงใจใหคนในชุมชนหันมาถือปฏิบัติในการลดปริมาณมูล ทั้งในดานการลดการบริโภค โดยเฉพาะการลดการบริโภคของฟุมเฟอย หรือบรรจุภัณฑที่เกินความจําเปน ซื้ออาหารใหพอดีกับความตองการ เพื่อจะไดไมมีของเหลือทิ้ง ซื้อเครื่องดื่มที่บรรจุขวดคืนได ละเวนเครื่องดื่มที่

Page 79: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

70

บรรจุกระปอง ใชของเกาใหคุมคา กอนหาสิ่งใหมมาทดแทน ดานการใช พบวา มีการนําสิ่งของที่ใชแลวมาใชประโยชนอีกเพื่อความคุมคา รวมถึงการนําของเกามาซอมแซม หรือดัดแปลงเพื่อกลับมาใชประโยชนใหม การแปรสภาพดวยการนําของเหลือใชเขาสูกระบวนการผลิตใหมเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพ และการหลีกเลี่ยงการใชและบริโภคสิ่งที่เปนอันตรายตอผูอื่นและระบบนิเวศนไดแก สารพิษทุกชนิด โฟม เปนตน ซึ่งการมีสวนรวมในการปฏิบัติงานเพื่อการลดการเกิดและการขจัดปญหาขยะมูลฝอยตาง ๆ เหลานี้ถือเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนประสบผลสําเร็จไดเปนอยางดี สอดคลองกับกัญญา จาอาย (2549) เรื่อง การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนสันกลาง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม พบวา ผูนําชาวบานมีสวนรวมปฏิบัติงานเพื่อดําเนินการแกไขปญหาขยะมูลฝอยจนกระทั่งเกิดความสําเร็จในการจัดการขยะมูลฝอย อาทิ โครงการการใหความรูเกี่ยวกับขยะและการจัดการขยะ โครงการจัดตั้งกองทุนขยะ และโครงการหนาบานนามอง

อยางไรก็ตามในการวิเคราะหตัวแปรการมีสวนรวมของผูนําชุมชน แมจะพบวาการมีสวนรวมติดตามผลและประเมินผล และการมีสวนรวมปฏิบัติงาน เปนองคประกอบที่สงผลตอประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน แตก็พบวามีตัวแปรการมีสวนรวมของผูนําชุมชนอีกสองตัวแปรที่ไมสามารถนํามาพยากรณประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน คือ การมีสวนรวมคนหาและสาเหตุและการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา ทั้งนี้เปนเพราะในบริบทการทํางานของผูนําชุมชนในการจัดการมูลฝอยในชุมชนทั้ง 2 ดานนั้น เปนไปตามขอกําหนดของกรุงเทพมหานครที่วาดวยมูลฝอยและพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดกําหนดบทบาทหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดการขยะ ตั้งแตการรณรงคในการลดปริมาณขยะจนถึงการกําจัด ทําใหผูนําชุมชนสวนใหญจะมีหนาที่เพียงปฏิบัติตามการมีสวนรวมในการคนหาและสาเหตุ แนวทางการแกไขปญหามูลฝอยในชุมชน จึงเปนเพียงการแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะวิธีการจัดการมูลฝอยตอแนวทางปฏิบัติที่มีอยูแลวเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น เชนเดียวกับการมีสวนรวมวางแผนและแกไขปญหา พบวา บทบาทหนาที่สําคัญอยูที่สํานักงานเขตบางเขน ผูเปนเจาภาพทําใหผูนําชุมชนหลายทานมิไดใหความสําคัญกับการรวมวางแผนขั้นตอนในการจัดการเพื่อแกไขปญหามูลฝอยในชุมชนเทาที่ควร มีก็เพียงบางชุมชนที่ผูนํามีวิสัยทัศนและภาวะผูนําสูงจึงมีการวางแผนการดําเนินงานขึ้นภายในชุมชนอยางชัดเจน โดยการระดมความคิดเห็นรวมกับสมาชิกในชุมชนเพื่อวิเคราะหปญหาและใหความสําคัญของการคัดแยกมูลฝอยอยางจริงจัง ดังนั้น การที่ผูนําชุมชนมีอํานาจหนาที่และบทบาทในการรวมคนหาสาเหตุและการวางแผน แกไขปญหาคอนขางนอย จึงเปนผลทําใหการมีสวนรวมทั้ง 2 ดานดังกลาว ไมสามารถนํามาพยากรณ

Page 80: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

71

ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขนได แตถึงกระนั้นก็ตามองคประกอบทั้ง 4 ดานก็ยังถือวา เปนองคประกอบของการมีสวนรวมของผูนําชุมชน ในการขับเคลื่อนใหบรรลุวัตถุประสงคในการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน ดังที่กรุงเทพมหานครไดตั้งเปาหมายการจัดการขยะในแนวทางใหม คือ การลดปริมาณมูลฝอยและนําของเสียกลับไปใชประโยชนโดยมุงสงเสริมใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการลดปริมาณมูลฝอย และผลงานวิจัยผลักดันใหมีการนําหลักการ 3R คือ Reduce Re-use และRecycleไปสูการปฏิบัติ โดยการคัดแยกกอนทิ้งและทิ้งใหถูกที่ซึ่งเปนหัวใจหลักของการบริหารจัดการขยะอยางยั่งยืนและลดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากผลการศึกษาเรื่องการมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยใน

ชุมชนเขตบางเขน สรุปเปนขอเสนอแนะไดดังนี้การมีสวนรวมของผูนําชุมชน1. ดานรวมคนหาและสาเหตุของปญหา สํานักงานเขตควรลดบทบาทเพื่อใหผูนําชุมชน

รูจักวิเคราะหสาเหตุของปญหาขยะมูลฝอย นอกจากนี้ผูนําชุมชนควรมีการสงเสริมหรือรณรงคใหสมาชิกในชุมชนไดเขาใจและทราบถึงบทบาทหนาที่ในการมีสวนรวมและมีโอกาสเขามามีสวนรวมในทุกกิจกรรมทุกกระบวนการ โดยเฉพาะในดานการมีสวนรวมในการพูดคุยหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลตางๆ เชน บุคคลในครอบครัวหรือบุคคลอื่นเกี่ยวกับปญหาขยะมูลฝอย ซึ่งหากผูนําชุมชนไดเรียนรูเขาใจสาเหตุของปญหาใด ๆ แลวจะสามารถแกไขปญหาหรือวิเคราะหสาเหตุอันเปนที่มาของปญหาไดตรงจุดและรวดเร็วทําใหสภาพปญหาไมบายปลาย

2. ดานรวมวางแผนและแกไขปญหา ผูนําชุมชนควรเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางแผน แกไขปญหา ประสานงาน เสนอแนะใหขอคิดเห็นอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง โดยผูนําชุมชนควรจัดเพิ่มกิจกรรมการมีสวนรวม เชน การวางแผนจัดหาเงินทุนเพื่อแกไขปญหาขยะในชุมชน เชน การของบประมาณสนับสนุนจากหนวยงานหรือองคการอื่น ๆ หรือขอสนับสนุนจากครัวเรือนตางๆ ในชุมชน โดยเก็บเปนรายเดือนในอัตราที่เหมาะสมกับสภาพชุมชนหรือพื้นที่

3. ดานรวมปฏิบัติงาน ผูนําชุมชนควรรณรงคใหสมาชิกในชุมชนเขามามีสวนรวมในการเสนอแนะวิธีการจัดเก็บมูลฝอยของชุมชน รวมมีบทบาทในการทํากิจกรรมตางๆ เชน อบรมเทคนิคในการจัดการมูลฝอยในชุมชน เชน การคัดแยกประเภทมูลฝอย การใชประโยชนจากมูลฝอย เปน

Page 81: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

72

ตน ตลอดจนมีสวนรวมกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการจัดเก็บมูลฝอยเพื่อเสนอตอสํานักงานเขตบางเขน

4. ดานรวมติดตามผลและประเมินผล ผูนําชุมชนควรเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนมีสวนรวมประเมินผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนวาประสบความสําเร็จมากนอยเพียงใด และมีปญหาใดที่ควรนํามาแกไข เพื่อที่ชุมชนจะไดนํามาปรับปรุงการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชนเขตบางเขน 1. ดานลดการเกิดมูลฝอย ผูนําชุมชนควรสงเสริมใหทํากิจกรรมที่เนนการลดปริมาณ

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในชุมชน พรอมกับสงเสริมกิจกรรมที่รณรงคใหสมาชิกในชุมชนตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดขึ้นมีจากขยะมูลฝอยประเภทตาง ๆ อาจกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรืออาจทําใหเกิดอันตรายแกบุคคล สัตว พืชหรือทรัพย เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉายหรือแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ ภาชนะที่ใชบรรจุสารกําจัดแมลง กระปองสเปรยบรรจุสีหรือสารเคม ี เปนตน ซึ่งชุมชนควรลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะทําใหเกิดอันตรายเหลานี้ โดยการหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีภายในบานเปลี่ยนมาใชวิธีการทางธรรมชาติแทน เชน ขยะประเภทกระปองสารเคมีกําลังยุงและแมลงเปลี่ยนมาใชตระไครหอมไลยุงแทน เปนตน

2. ดานการคัดแยกมูลฝอย ผูนําชุมชนควรมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย โดยจัดทําโครงการอบรมใหความรูกับสมาชิกในชุมชนเพื่อการคัดแยกมูลฝอยอยางถูกวิธี โดยมีการสาธิตการคัดแยกมูลฝอยเพื่อแยกประเภทกอนเขาสูระบบการรวบรวมมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอย และนําไปสูการกําจัดขยะมูลฝอย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบจัดการมูลฝอยโดยเริ่มจากชุมชน

3. ดานการใชประโยชน ผูนําชุมชนควรสงเสริมและประชาสัมพันธใหสมาชิกในชุมชนทราบถึงประโยชนจากขยะมูลฝอย มีการจัดทําเอกสารเพื่อแจกใหสมาชิกในชุมชน เพื่อบงบอกถึงขั้นตอนของการรีไซเคิลขยะมูลฝอย การใชประโยชนจากขยะมูลฝอย และอบรมอยางตอเนื่องเพื่อใหสมาชิกในชุมชนมีความรูความเขาใจ และตระหนักถึงปญหาของขยะมูลฝอย ควรมีการจัดตั้งสหกรณชุมชนรับซื้อขยะมูลฝอยรีไซเคิลและจัดตั้งกลุมทําผลิตภัณฑจากขยะฝอยรีไซเคิล โดยนํามาจําหนายในชุมชนราคาถูก เปนตน

4. ดานการรวบรวมมูลฝอย ผูนําชุมชนควรมีการกําหนดจุดรวบรวมขยะมูลฝอยภายในชุมชนและแจงใหสมาชิกทุกคนรับทราบ เนื่องจากในวันเสาร วันอาทิตยที่สมาชิกในชุมชนจอดรถไวบริเวณหนาบานทําใหกีดขวางทางเขาและออกของรถเก็บขนขยะมูลฝอย ทําใหการทํางานของ

Page 82: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

73

เจาหนาที่ลําบากและยากขึ้น ดังนั้น สมาชิกในชุมชนทุกคนควรมีสวนรวมในการนําขยะมูลฝอยไปทิ้งที่จุดรองรับขยะมูลฝอยเพื่อความสะดวกในการเก็บขนไปกําจัด

5.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป1. ควรศึกษารูปแบบและวิธีการในการนํามูลฝอยมาใชใหเกิดประโยชนตอสุขภาพและ

สิ่งแวดลอมของชุมชนในดานตางๆ 2. ควรศึกษาหาแนวทางความรวมมือระหวางชุมชุมในเขตใกลเคียงและหนวยงานอื่น ๆ

เกี่ยวกับรูปแบบในการจัดการมูลฝอยเพื่อใชในการวางแผนดําเนินงานโดยรวมมือกับหนวยงานอื่นในการบริหารจดการมูลฝอยเพื่อรวมกันแกไขปญหา

3. ควรมีการศึกษาเพื่อติดตามผลความสําเร็จของโครงการ ใหขอมูลขาวสาร ความรู และวิธีปฏิบัติในเรื่องการทิ้งมูลฝอย ในระยะยาว เพื่อชี้ ให เห็นวาพฤติกรรมการทิ้งขยะที่เปลี่ยนแปลงไปสงผลดีตอชุมชนอยางไร และสามารถนําไปสูการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและขยายผลโครงการในอนาคต

4. ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางแกไขปญหามูลฝอยที่เกิดจากโรงงานตางๆ ในบริเวณชุมชนเพราะเปนแหลงสรางขยะอีกแหลงหนึ่งนอกเหนือจากขยะที่เกิดจากครัวเรือนที่สง ผลกระทบตอสภาพแวดลอมของชุมชน

5. ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อคนหาแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยประเภทพลาสติก เนื่องจากขยะประเภทนี้มีปริมาณมากที่สุดในชุมชน และมีแนวโนมทําใหเกิดผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสุขอนามัยของชุมชน

Page 83: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

74

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. การมีสวนรวมในการกระจายอํานาจจากสวนกลางมาสูสวนทองถิ่น. กรุงเทพมหานคร: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2543.

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม. นโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย. มปป.

______________________________________. ขยะและการจัดการ. สํานักงานสิ่ งแวดลอมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2538.

_____________________________________. รายงานสถานการณมลพิษแหงประเทศไทย พ.ศ. 2540. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2540.

_____________________________________. การจัดการขยะมูลฝอยในบานเรือน. กรุงเทพมหานคร:กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2543.

กรมควบคุมมลพิษ. คูมือขยะมูลฝอย. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2553.

สํานักคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2546.

Page 84: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

75

เจิมศักดิ์ ปนทอง. การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบทในการบริหารงานพัฒนาชนบท . กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2527.

_______________. การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบทในการบริหารงานพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2527.

ชินรัตน สมสืบ. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539.

เฉลิม เกิดโมลี. แนวทางการมีสวนรวมในกระบวนการนโยบาย. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2543.

ติน ปรัชญาพฤทธิ์. การบริหารการพัฒนา ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.

ถวิลวดี บุรีกุลและคณะ . จับชีพจรประเทศไทย: ตัวชี้วัดประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกลา, 2547.

ทนงศักดิ์ คุมไขน้ํา. การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ, 2540.

ธงชัย สันติวงษ. ทฤษฎีองคการและการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2541.

ธีระพงษ แกวหาวงษ. กระบวนการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง: ประชาคม ประชาสังคม. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา, 2543.

นิรันดร จงวุฒิเวศน. กลวิธี แนวทาง วิธีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุขมหาวิทยาลัยมหิดล, 2537.

Page 85: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

76

บุญทัน ดอกไธสง. การจัดการองคการ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษยและเทคโนโลยีชนบท, 2535.

ปาริชาติวลั ย เสถียร และคณะ.กระบวนกา รพัฒนาและเท คนิคการทํ างา นของนักพัฒนา .กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2543.

ประพันธ สุริหาร. ทฤษฎีการบริหาร. ขอนแกน: ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2533.

ประเวศ วะสี. การสรางภูมิปญญาไทยเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทรพริ้นติ้งกรุป, 2534.

พิทยา บวรวัฒนา. ทฤษฎีองคการสําหรับรัฐประศาสนศาสตร. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531.

พัชรี สิโรรส. คูมือการมีสวนรวมของประชาชน.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546.

ภรณี มหานนท. การประเมินประสิทธิผลขององคการ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2529.

รุง แกวแดง และคณะ. แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลและประสิทธิภาพองคการ. ในประมวลสารชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษาหนวยที่ 9 – 12. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2536.

วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. การพัฒนาชนบทไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2531.

ศิริอร ขันธหัตถ. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์, 2547.

ศิริพร พงศศรีโรจน. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

Page 86: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

77

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: วิสิทธิพัฒนา, 2548.

เสนาะ ติเยาว. หลักการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2544.

สุพจน ทรายแกว. การจัดการรัฐแนวใหม. พระนครศรีอยุธยา: เทียนวัฒนา, 2545.

สุพาดา สิริกุตตา และคณะ. การวางแผนและการบริหารโครงการ. กรุงเทพมหานคร: เพชรจรัสแสงแหงโลกธุรกิจ, 2543.

สํานักสิ่ งแวดลอม. แผนปฏิบัติราชการสํ านักสิ่ งแวดลอม . กรุง เทพมหานครสํ านักพิมพกรุงเทพมหานคร, 2551.

_________________.การจัดการมูลฝอย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพกรุงเทพมหานคร, 2553.

อคิน รพีพัฒน. การมีสวนรวมของชุมชนในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศักดิ์โสภาการพิมพ, 2527.

อดิศักดิ์ ทองไขมุกตและคณะ. การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. พิมพครั้งที่ 4. นนทบุรี: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2546.

อุทัย หิรัญโต. เทคนิคการบริหารประสิทธิผล ผลสําเร็จของการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2537.

บทความในวารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ

ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์. “การมีสวนรวมของประชาชน”. วารสารพัฒนาชุมชน, 2531: 24-30.

Page 87: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

78

เอกสารอื่น ๆ

กัญญา จาอาย. “การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนสันกลาง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม”. การคนควาแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

กัลยา สัมมาแอ. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลคลองขุด อําเภอเมือง จังหวัด สตูล”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2550.

จิระพัชร คูเลิศตระกูล. “ความเขมแข็งของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลตําบลลูกแก อําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี”.วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐและเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552.

ชวลิต เกตุมงคลสิทธิ์. “การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการดูแลสิ่งแวดลอม : ศึกษาเฉพาะ

กรณีชุมชนใ นเขตราษฎ รบู รณะ จั ง หวัดกรุง เทพมหานคร” . วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2548.

นงนุช ใจโต. “การจัดการมูลฝอยของตําบลดอนแกว”. การคนควาแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

เนตรชนก คําลอง. “การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยขององคการ บริหารสวนตําบลรูสะมิแอ อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี”. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550.

บุญมี รัตนะพันธุ. “การมีสวนรวมของคณะกรรมการหมูบานในการพัฒนาหมูบานศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด”. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร, 2543.

Page 88: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

79

ประภาวรรณ ศรีออนทอง. “การมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตําบล สถกบาตร อําเภอขาณวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร”. รายงานการศึกษาอิสระปริญญา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550.

ประสบสุข ดีอินทร. “การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาไมของผูใหญบานและกํานันภาคเหนือ”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2531.

ปรียนันท ทําจะดี. “การมีสวนรวมของประชาชนตอวิธีการกําจัดมูลฝอยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลรั้วใหญ อําเภอเมืองสุพรรณบุรี”. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550.

ปฤษฐา พฤมิวิชญ. “การมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจําแนกประเภทขยะมูลฝอยที่ใชในชีวิตประ จํ าวันกอนทิ้ ง เข ตตลิ่ งชัน กรุ ง เทพม หานคร” . วิทยา นิพนธหลั กสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและการพัฒนาประชาคมเมืองและชนบทบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2547.

พรทิพย ตั้งคณานุกูลชัย. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรปาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาโครงการปาชุมชนบานน้ําหรา อําเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2541.

พูลศักดิ์ ประณุทนรพาล. “ปญหาขยะในยุค 2000”. เอกสารประกอบการอภิปรายวันที่ 13- 15 สิงหาคม 2540 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร, 2540.

ยุทธนา ทาตายุ. “ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการผลิต: กรณีศึกษากองการผลิตบริษัทวิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด”. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไปบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2543.

Page 89: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

80

ภานุ พนภัย. “การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลทาโพธิ์ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา”. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550.

รัชชานันท ศรีสุภักดิ์. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยในเขตเทศบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม”. วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2552.

รุงกิจ บูรณเจริญ . “การจัดการขยะฐานศูนย: กรณีศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค อําเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร”. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554.

วิจักษ คันธะมาลย. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตําบลสตึก อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย”. วิทยานิพนธหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดลอม คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2552.

วรรณา สมศรี. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยกรณีศึกษา:องคการบริหารสวนตําบลอรัญญิก อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก”.วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2554.

ศเนติ พาจรทิศ. “การมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลแมสาย จังหวัดเชียงราย”. การคนควาแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2547.

ศุภกร ทิมจรัส . “พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัว เรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 2548.

Page 90: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

81

สรพล สุวรรณจิตร. “ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก, 2551.

สมชาย เขียวออน. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน”. วิทยานิพนธสาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

สุชาติ อรุณวุฒิวงศ. “การวิเคราะหเชิงสมมุติฐานการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท

ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี”. วิทยานิพนธ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541.

สุนีย มัลลิกะมาลยและคณะ. “โครงการวิจัยการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน”. กรุงเทพมหานคร: ศูนยกฎหมายและการพัฒนาสิ่งแวดลอม คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

สุนันทา ระหงส. “การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลคลองมะเดื่อ อําเภอ กระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร”. วิทยานิพนธสาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2550.

สุพจน ทรายแกว. “การวัดผลการปฏิบัติงาน”. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทําแผน กลยุทธ สถาบันราชภัฏเชียงราย เอกสารอัดสําเนา, 2543.

สุเมธ แสงนิ่มนวล. “ปจจัยที่มีผลตอสมาชิกสหกรณในกิจกรรมหมูบานเคหะบาลศึกษาเฉพาะกรณีหมูบานสหกรณเคหะสถานกรุงเทพ จํากัด โครงการ 4 กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2531.

Page 91: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

82

อารยา วัฒนกิจ . “ปจจัยการมีสวนรวมของผูปกครองในกิจกรรมของศูนยพัฒนาเด็กเล็กในเขตอําเภอคลองหลวงจังหวัดปทุมธานี”. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2526.

อุษณี มงคลพิทักษสุข. “ภาวะผูนําเปลี่ยนสภาพของนายกองคการบริหารสวนตําบลกับประสิทธิผลขององคการ”. ดุษฎีนิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร วิทยาลัยการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551.

Books.

Cameron, K. S.. The Enigma of Organizational Effectiveness. In Dan Baugher (Ed.), Measuring Effectiveness. (pp. 1-13). San Francisco: Jossey-Bass, 1980.

Creighton, James L. The Public Participation Handbook: Making Better Decisions through Citizen Involvement. New York: Jossey Bass, 2005.

Price, J.L. Organizational Effectiveness : An Inventory of Propositions. Homewood, III : Richard D Irwin, Inc, 1968.

Reckless, W. C. The Crime Problem. New York: Apple-ton Century Crofts, 1967.

Robbins, S. P. Organizational Behavior. 11th ed. Upper Saddle River. N.J.: Pearson Education, Inc., 2003.

Summers, S.D. Longman Active Study Dictionary of English. Great Britain: Clays, 1992.

Tchobanoglous, G., Theisen, H., & Vigil, S.A. Integrated Solid Waste Management. Singapore: McGraw-Hill Book Co.-Singapore, 1993.

Page 92: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

ภาคผนวก

Page 93: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

แบบสอบถามเรื่อง การมีสวนรวมของผูนําชุมชนกับประสิทธิผลการจัดการมูลฝอยในชุมชน

เขตบางเขน

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในเครื่องหมาย ใหตรงกับขอมูลตามความเปนจริงเกี่ยวกับตัวทานใหมากที่สุดในแตละขอ

1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง

2. อายุ 1. ต่ํากวา 21 ป 2. 21 - 30 ป 3. 31 - 40 ป 4. 41-50 ป 5. 51 - 60 ป 6. 61 ปขึ้นไป

3. อาชีพ 1. ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2. ลูกจาง 3. คาขาย 4. อื่นๆโปรดระบุ.........

4. ระดับการศึกษา 1. ประถมศึกษา 2. มัธยมศึกษาตอนตน 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 4. อนุปริญญา/ปวส. 5. ปริญญาตรี 6. สูงกวาปริญญาตรี

84

Page 94: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

85

สวนที่ 2 การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในการดําเนินการดังตอไปนี้ ทานมีสวนรวมมากนอยเพียงใด โปรดทําเครื่องหมายในชองที่ทานพิจารณาเห็นดวยเพียง 1 ขอ

ระดับการมีสวนรวมขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด การคนหาปญหา สาเหตุของ ปญหา

1. ทานมีสวนรวมในการวิเคราะห ปญหา จุดออน จุดแข็งของชุมชน

2. รวมใหขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เคยพบหรือจากการกลาวของสมาชิกในชุมชน

3. ทานเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะวิธีการจัดการขยะมูลฝอย

4. รวมหาแนวทางในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนและจัดลําดับความสําคัญกอน-หลังของปญหา

5. รวมตัดสินใจเลือกวิธีการจัดการและแนวทางแกไขปญหาขยะมูลฝอยในชุมชนกับสมาชิกในชุมชนและเจาหนาที่เขต

การวางแผนและแกปญหา6. มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะหปญหาและให

ความสําคัญของการคัดแยกขยะมูลฝอย7. รวมวางแผนขั้นตอนในการจัดการเพื่อแกไขปญหา

ขยะมูลฝอยในชุมชน8 แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการเพื่อสงเสริมใหสมาชิก

ในชุมชนเขารวมในการจัดการขยะ9 รวมวางแผนรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนใน

ชุมชนเขารวมโครงการการจัดการขยะมูลฝอย10 ทานรวมในการวางแผนจัดหาวัสดุอุปกรณในการ

ดําเนินงาน เชน ถังขยะ อุปกรณทําความสะอาด

Page 95: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

86

ระดับการมีสวนรวมขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด การปฏิบัติงาน 11. รวมประชุม อบรมใหความรูถึงคุณประโยชนจากขยะ

และวิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง12. มีกิจกรรมรณรงคทําความสะอาดชุมชนและการคัด

แยกขยะกอนนําไปทิ้ง13. มีการประสานงานใหผูประกอบการมารับซื้อขยะ และ

กําหนดจุดซื้อขายขยะมูลฝอยในชุมชน

14. ทานมีการพัฒนาเทคนิค การจัดการขยะมูลฝอยที่แตกตางไปจากที่ กทม.กําหนด

15. รวมมือปฏิบัติตามขอกําหนดของกรุงเทพฯวาดวยขยะมูลฝอยและรวมมือกับชุมชนในการแกไขปญหาขยะมูลฝอย

การติดตามผลและประเมินผล 16. มีสวนในการจัดทําเกณฑประเมินผลการดําเนินงาน

การจัดการมูลฝอยในชุมชน17. มีสวนในการวางแผนและกําหนดกรอบเวลาในการ

ติดตามประเมินผล18. มีสวนในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานให

สามารถลดปริมาณขยะได19. ทานมีการติดตามและประเมินผล การจัดการขยะมูล

ฝอยในชุมชน20. มีการรายงานผลการดําเนินงานการจัดการขยะมูลฝอย

ตอชุมชน

Page 96: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

87

สวนที่ 3 ประสิทธิผลของการจัดการมูลฝอยในชุมชนโปรดทําเครื่องหมาย ในชองที่ทานพิจารณาเห็นวา การมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการมูลฝอยในชุมชนของทานอยูในระดับใดใหเลือกเพียง 1 ขอ

Page 97: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

88

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด การลดมูลฝอย1. ปริมาณขยะในชุมชนลดนอยลงเมื่อเทียบกับ

กอนเขารวมโครงการ2. ปริมาณขยะรีไซเคิลในชุมชนมีจํานวนมากขึ้น

เมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ3. สภาพของชุมชนมีความเปนระเบียบเรียบรอย

มากขึ้นหลังจากเขารวมโครงการจัดการขยะ การคัดแยกมูลฝอย4. แตละครัวเรือนมีการคัดแยกขยะมูลฝอยทุก

ครั้งกอนที่จะทิ้งลงถังขยะ5. สามารถแยกคัดแยกขยะไดอยางถูกตองตาม

ประเภทของขยะ6. มีถังขยะรองรับบริเวณรวบรวมขยะที่ถูกคัด

แยกแลวจัดวางอยางเพียงพอและเหมาะสม การใชประโยชนมูลฝอย7. หลังจากดําเนินโครงการมีสมาชิกในชุมชนเขา

มาจําหนายขยะมูลฝอยมีเพิ่มมากขึ้น8. มีโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชน เชน ธนาคาร

ขยะในชุมชน การใชลอยางรถยนตมาปลูกผักสวนครัว

9 การดําเนินโครงการขยะรีไซเคิลในชุมชนสงผลตอการเพิ่มมูลคาขยะชุมชนมากขึ้น

ระดับความคิดเห็นขอ ขอคําถาม มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด

Page 98: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

89

การรวบรวมมูลฝอย10. มีจุดร วบ ร วมข ยะ มู ลฝอย หล ายจุ ดแล ะ

สามารถใหรถเก็บขยะเก็บขนไดอยางสะดวก11. มีการแยกสีถังขยะแตประเภทอยางเดนชัด

เชนสีเขียว สีแดง สีเหลือง12. มีปริมาณถังขยะเพียงพอในการรองรับปริมาณ

ในแตละจุดรวบรวมรวบรวมขยะ

Page 99: โดย นางปราณี บุญทอง ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Pranee_ Boonthongkaewr.pdf · 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส

ประวัติผูศึกษา ชื่อ - สกุล นางปราณี บุญทองแกววัน/เดือน/ปเกิด วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2512ที่อยู 1 ซอยรามอินทรา 5 แยก 52 ถนนรามอินทรา แขวงทาแรง เขตบางเขน

กรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542 ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2557 ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานปจจุบัน นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม

สํานักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

89


Recommended