+ All Categories
Home > Documents > หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ...

หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ...

Date post: 04-Mar-2020
Category:
Upload: others
View: 3 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
33
หน่วยที4 การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาจารย์ ณรัฐ รัตนเจริญ
Transcript
Page 1: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

หน่วยท่ี 4 การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

อาจารย์ ณรัฐ รตันเจรญิ

Page 2: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แบบประเมินตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 4

จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวจากตัวเลือก (1) (2) (3) (4) และ (5) ส าหรับ

ค าถามแต่ละข้อโดยใส่เครื่องหมาย หน้าตัวเลือกที่นักศึกษาคิดว่าเป็นค าตอบที่ถูกต้องที่สดุ 1 ศูนย์เรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์ประจ าหมู่บ้าน เป็นฟาร์มพืชประเภทใด

1. ฟาร์มเพ่ือการค้า

2. ฟาร์มเชิงธุรกิจ

3. ฟาร์มเศรษฐกิจพอเพียง

4. ฟาร์มที่ไม่มุ่งเน้นผลก าไร

5. ฟาร์มต้นแบบ

2 ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของพ้ืนที่หวงห้ามในฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. พ้ืนที่ที่ป้องกันนักท่องเที่ยวจากสิ่งอันตราย

2. พ้ืนที่เก็บรักษาสารเคมีต้องห้าม

3. พ้ืนที่เก็บรักษาสิ่งของมีค่าและห้ามบุคคลภายนอกเข้า

4. พ้ืนที่ปฏิบัติการทางการเกษตรที่ห้ามบุคคลภายนอกเข้า

5. พ้ืนที่อยู่อาศัยของเจ้าของฟาร์ม

3 ข้อใดเป็นสิ่งพึงกระท าเป็นขั้นตอนแรก เมื่อต้องการจัดการให้ฟาร์มเกษตรของตนเองกลายเป็นแหล่ง

ท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. วางแผนผังในฟาร์ม

2. ปรับปรุงภูมิทัศน์

3. วิเคราะห์หาจุดเด่น หรือจุดอ่อนจุดแข็งของฟาร์ม

4. ก าหนดพ้ืนที่ใช้ประโยชน์

5. ก าหนดเขตหวงห้าม

Page 3: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

4 การน าชมกิจการภายในฟาร์มพืชหรือฟาร์มทัวร์ ของสิงห์ปาร์กเชียงราย จัดเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว

แบบใด

1. กิจกรรมเด่น

2. กิจกรรมหลัก

3. กิจกรรมรอง

4. กิจกรรมประจ าถิ่น

5. กิจกรรมตามฤดูกาล

5 ข้อใดจัดเป็นความส าคัญด้านการท่องเที่ยวของฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. เป็นแหล่งอาหารโปรตีน

2. เป็นช่องทางสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์

3. ใช้ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

4. เป็นช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างฟาร์ม

5. เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ

6 ข้อใดเป็น “ข้อควรระมัดระวังเป็นพิเศษ”ของการเปิดฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. ความอ่อนไหวต่อโรคระบาด

2. อัตราการเติบโตของสัตว์

3. อาการตื่นคนของสัตว์ในฟาร์ม

4. กลิ่นของเสียในฟาร์ม

5. ความแออัดของจ านวนสัตว์

7 ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจรในฟาร์มโชคชัย

1. การใช้ธุรกิจการเลี้ยงโคนมเป็นหลักในการด าเนินกิจกรรมท่องเที่ยว

2. การใช้เงินลงทุนด้านการจัดการแบบเต็มรูปแบบ

3. การประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวผ่านสื่อต่างๆ

4. การพัฒนาสายพันธุ์โคของฟาร์ม

5. การขายผลิตภัณฑ์ตรา“โชคชัย”

Page 4: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

8 ข้อใดเป็นทักษะพิเศษท่ีควรอบรมเพ่ิมเติมแก่เจ้าหน้าที่หรือผู้น าชมภายในฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการ

ท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. ทักษะการพูด

2. ทักษะการตั้งค าถาม

3. ทักษะการล่าสัตว์

4. ทักษะการดูแลควบคุมสัตว์

5. ความรู้เรื่องโรคและการรักษา

9 ข้อใดเป็นแนวคิดส าคัญที่ควรถ่ายทอดลงไปในการจัดกิจกรรมของฟาร์มผสมผสานเพ่ือการท่องเที่ยว

เชิงเกษตร

1. เกษตรอินทรีย์

2. การเกษตรแบบแม่นย า

3. การถ่ายเทธาตุอาหารและพลังงาน

4. การเกษตรปลอดพิษ

5. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

10 ข้อใด เป็นรูปแบบการผสมผสานกิจกรรมการเกษตรของกรณีตัวอย่าง “บ้านสวนทวีพิกุล”

1. พืชไร่ ผสมกับ พืชสวน

2. พืชไร่หลายชนิดรวมกัน

3. เลี้ยงสุกร ร่วมกับไก่ฟ้า

4. เลี้ยงสัตว์บก ร่วมกับสัตว์น้ า

5. ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ร่วมกัน

Page 5: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แผนผังความคิด

หน่วยที่ 3 การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

หน่วยท่ี 4 การ

จัดการฟาร์มกับ

การท่องเท่ียวเชิง

เกษตร

4.1 การจดัการฟารม์พืชกับการ

ท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.2 การจดัการฟารม์เลี้ยงสตัว์

กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.3 การจดัการฟารม์ผสมผสาน

กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.1.1. ความหมาย ความส าคญัของ

ฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์ม

พืช

4.1.2. หลักการจัดการฟาร์มพืชเพือ่

การท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.2.1. ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม

และประเภทของการท าฟาร์มเลี้ยงสัตว ์

การเกษตร

สิ่งพิมพ์

4.2.2. หลักการจัดการฟาร์มเลี้ยง

สัตว์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.2.3. กรณตีัวอย่างฟาร์มเลี้ยงสตัว์

เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

การเกษตร

4.3.1. ความหมาย ความส าคัญของ

ฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์ม

ผสมผสาน

4.3.2. หลักการจัดการฟาร์ม

ผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิง

เกษตร

4.1.3. กรณีตัวอย่างฟาร์มพืชเพื่อการ

ท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.3.3. กรณีตัวอย่างฟาร์มผสมผสาน

เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

Page 6: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แผนการสอนประจ าหน่วยที่ 4

การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ตอนที่ 4.1 การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.3 การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวคิด 1. ฟาร์มพืช หมายถึง อาณาบริเวณท่ีมีการปลูกพืชด้วยกรรมวิธีต่างๆเพ่ือใช้ประโยชน์ทั้งการน ามาใช้

ประโยชน์ในด้านต่างๆ การเปิดธุรกิจท่องเที่ยวในฟาร์มพืช ถือเป็นการหารายได้เสริมจากการท างานด้านการเกษตรซึ่งเป็นรายได้หลัก แนวทางส าคัญในการเปิดฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวคือการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่อย่างจ ากัดภายในฟาร์มให้สามารถตอบสนองการท างานด้านการท่องเที่ยวให้สมบูรณ์ได้ ซึ่งควรต้องเริ่มจากการวิเคราะห์ การวางแผนที่เป็นระบบและจบลงที่การประชาสัมพันธ์สร้างความร่วมมือกับองค์กรต่างทั้งภายในและภายนอกท้องถิ่น

2. ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ หมายถึง อาณาบริเวณท่ีมีการเลี้ยงสัตว์ด้วยกรรมวิธีต่างๆเพ่ือใช้ประโยชน์โดยมนุษย์ ด้วยความหลากหลายของสายพันธุ์สัตว์และความอ่อนไหวทางการผลิตที่มีต้นทุนที่สูงกว่าการผลิตพืช การเลี้ยงสัตว์จึงต้องมีการระมัดระวังในเรื่องของการปนเปื้อนเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งเมื่อต้องการท าธุรกิจการท่องเที่ยวในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ผู้ประกอบการ ผู้จัดการฟาร์มหรือเกษตรกรก็ต้องมีความระมัดระวังภัยในเรื่องดังกล่าวเป็นพิเศษด้วย ทั้งนี้เพ่ือความปลอดภัยทั้งของนักท่องเที่ยว และความป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับฟาร์มเลี้ยงสัตว์เองด้วย

3. ฟาร์มผสมผสาน หมายถึง ฟาร์มที่มีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปในพ้ืนที่เดียวกัน และกิจกรรมแต่ละชนิดก็มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันในแง่ของการถ่ายเทธาตุอาหารและพลังงานในระบบนิเวศ แต่เนื่องจากการผสมผสานมีรูปแบบที่หลากหลาย รูปแบบการจัดน าเนิการท่องเที่ยวในฟาร์มเกษตรชนิดนี้ จึงขึ้นอยู่กับกิจกรรมต่างๆที่มีเป็นส าคัญ แต่สิ่งที่ส าคัญและเป็นประเด็นที่ควรน าเสนอในฟาร์มผสมผสาน คือ แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆในระบบนิเวศ เพ่ือกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวและผู้สนใจที่เข้ามาในกระบวนการเรียนรู้ ได้เข้าใจและระลึก ตระหนักถึงความส าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับความเพลิดเพลินใจในการพักผ่อนด้วย

วัตถุประสงค ์

เมื่อศึกษาหน่วยที่ 4 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความหมาย และหลักการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในฟาร์มพืชได้

Page 7: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

2. อธิบายความหมาย และหลักการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ได้

3. อธิบายความหมาย และหลักการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในฟาร์มผสมผสานได้

กิจกรรมระหว่างการเรียน

1. ท าแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 3

2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนที่ 4.1 – 4.3 ปฎิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายในเอกสารการสอนแต่ละเรื่อง

3. ท ากิจกรรมประจ าชุดวิชาเพ่ือเก็บคะแนน(ถ้ามี)

4. ฟังรายการวิทยุกระจายเสียงและเทปเสียงประกอบชุดวิชา(ถ้ามี)

5. ชมรายการวิทยุโทรทัศน์(ถ้ามี)

6. ชมรายการสอนเสริมผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(ถ้ามี)

7. เข้ารับการสอนเสริมแบบเผชิญหน้าหรือผ่านดาวเทียม(ถ้ามี)

8. ท าแบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 3 สื่อการสอน

1. เอกสารการสอน

2. แบบฝึกปฏิบัติ

3. รายการสอนทางวิทยุกระจายเสียงหรือเทปเสียงประกอบชุดวิชา (ถ้ามี)

4. รายการสอนทางวิทยุโทรทัศน์ (ถ้ามี)

5. รายการสอนเสริมผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี)

6. การสอนเสริมแบบเผชิญหน้าหรือผ่านดาวเทียม (ถ้ามี)

7. เอกสารโสตทัศน์ (ถ้ามี) การประเมินผล

1. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ประเมินผลกิจกรรมและแนวตอบท้ายเรื่อง 3. ประเมินผลจากกิจกรรมประจ าชุดวิชา 20 คะแนน (ถ้ามี) 4. ประเมินผลจากการสอบประจ าภาคการศึกษา 80 คะแนน (ถ้าท ากิจกรรมประจ าชุดวิชา) หรือ

100 คะแนน (ถ้าไม่ท ากิจกรรมประจ าชุดวิชา)

เมื่ออ่านแผนการสอนแล้ว ขอให้ท าแบบประเมินตนเองก่อนเรียน

หน่วยท่ี 4 ในแบบฝึกปฏิบัติ แล้วจึงศึกษาเอกสารการสอนต่อไป

Page 8: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แผนการสอนตอนที่ 4.1

การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 4.1 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป

4.1.1. ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มพืช

4.1.2. หลักการจัดการฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.1.3. กรณีตัวอย่างฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวคิด

1. ฟาร์มพืช หมายถึง อาณาบริเวณท่ีมีการท าการการเพาะปลูกพืชในทุกระบบ ทั้งไร่ นา สวน หรือ

ระบบอ่ืนใดที่เน้นการผลิตพืชเป็นหลัก และต้องมีการวางแผนบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและมี

ความเหมาะสมกับขนาดของการผลิตเพ่ือให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุ

วัตถุประสงค์ของการท าฟาร์มได้ ฟาร์มพืชสามารถแบ่งได้หลายประเภท ทั้งการแบ่งโดยใช้

วัตถุประสงค์ ขนาดของฟาร์ม หรือแม้แต่วิธีการด าเนินการ ซึ่งสามารถแบ่งได้ตามเกณฑ์ที่ผู้แบ่ง

เลือกใช้นั่นเอง

2. หลักการจัดการฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สามารถด าเนินการได้โดยเริ่มจากการวิเคราะห์

จุดแข็งจุดอ่อนของฟาร์ม แล้วจัดการพ้ืนที่รวมไปถึงกิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆภายในฟาร์มให้มี

ความเหมาะสมสอดคล้องกับจุดแข็งจุดอ่อนนั้นๆ นอกจากนี้ก็ควรจะมีการวางแผนการใช้ทรัพยากร

ภายในฟาร์มให้มีประสิทธิภาพด้วย

3. กรณีตัวอย่างฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร “สิงห์ปาร์ก เชียงราย”เป็นการจัดการฟาร์มพืชที่

มีเนื้อที่ขนาดใหญ่ จึงสามารถด าเนินการกิจกรรมต่างๆได้มาก ทั้งยังมีความสวยงามจากท าเลที่ตั้ง แต่

การท าให้ฟาร์มท่องเที่ยวประสบความส าเร็จนั้นก็จ าเป็นจะต้องมีการสร้างความแตกต่างในการ

ท างาน โดยมีจุดขายจากจุดแข็งท่ีมี ทั้งการปลูกชา และการท าผลิตภัณฑ์ต่างๆจากผลผลิตของตนเอง

นอกจากนี้ก็ยังใช้การประชาสัมพันธ์กับสื่อต่างๆจนสามารถประสบความส าเร็จในการด าเนินการได้

วัตถุประสงค์

เมื่อศึกษาตอนที่ 4.1 แล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความหมาย ความส าคัญและประเภทของฟาร์มพืชได้

2. อธิบายหลักการในการจัดการฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้

3. วิเคราะห์การท างานของกรณีตัวอย่างที่น าเสนอได้

Page 9: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.1

การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

ในตอนที่ 4.1 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เรื่องการจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซึ่งแบ่ง

ออกเป็น 3 เรื่องหลัก ได้แก่

1. ฟาร์มพืช มิได้มีความส าคัญแค่เพียงการเป็นแหล่งผลิตพืชในรูปแบบต่างๆเท่านั้น แต่ยังมีคุณค่า

ทางเศรฐกิจสังคมและวัฒนธรรมอีกหลายประการ ซึ่งทั้งหมดหากมีการจัดการที่ดีและเหมาะสม

แล้ว ฟาร์มพืชจะสามารถเป็นแหล่งรายได้ที่ส าคัญแก่เกษตรกร ทั้งจากการขายผลผลิต ขายการ

บริการทางด้านท่องเที่ยว และยังสามารถเพ่ิมคุณค่าจากการเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่พักผ่อนหย่อนใจ

จรรโลงใจแก่ประชาชนผู้มาเยี่ยมเยียนได้อย่างดี

2. หลักการจัดการฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นวางแผนการจัดการกับองค์ประกอบ

การท่องเที่ยวเชิงเกษตรกับการจัดการฟาร์มพืช ในลักษณะการใช้ทรัพยากรการเกษตรที่มีอยู่

อย่างจ ากัดร่วมกัน และใช้การตัดสินใจที่เหมาะสมจากข้อมูลที่มีอยู่ โดยมิให้เกิดผลกระทบต่อ

กิจการด้านการผลิตพืชในฟาร์มนั้นๆ

3. กรณีตัวอย่างฟาร์มพืช สิงห์ปาร์คเชียงราย ที่เป็นตัวอย่างการบริหารจัดการการผลิตและการ

ท่องเที่ยวได้อย่างสอดคล้องกัน

หลังจากอ่านสาระส าคัญของตอนที่ 4.1 โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระในประมวลสาระ

ชุดวิชาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.1 เรื่องที่ 4.1.1 - 4.1.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนดไว้

ท้ายประมวลสาระชุดวิชาแต่ละเรื่อง

Page 10: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.1 การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.1.1.

ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มพืช

สาระส าคัญ

ฟาร์มพืช หมายถึง พ้ืนที่ท าการการเพาะปลูกพืชในทุกระบบ ทั้งไร่ นา สวน หรือระบบอ่ืนใดที่เน้นการ

ผลิตพืชเป็นหลัก และต้องมีการวางแผนบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและมีความเหมาะสมกับขนาดของการ

ผลิตเพ่ือให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ของการท าฟาร์มได้

ฟาร์มพืช มิได้มีความส าคัญแค่เพียงการเป็นแหล่งผลิตพืชในรูปแบบต่างๆเท่านั้น แต่ยังมีคุณค่าทาง

เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมอีกหลายประการ หากมีการจัดการที่ดีและเหมาะสม แล้ว ฟาร์มพืชจะสามารถ

เป็นแหล่งรายได้ท่ีส าคัญแก่เกษตรกร ทั้งจากการขายผลผลิต ขายการบริการทางด้านท่องเที่ยว และยังสามารถ

เพ่ิมคุณค่าจากการเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่พักผ่อนหย่อนใจ จรรโลงใจแก่ประชาชนผู้มาเยี่ยมเยียนได้อย่างดี

นอกจากนี้ การแบ่งประเภทของฟาร์มพืช ก็มีด้วยกันหลากหลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ผู้แบ่งใช้ในการ

จ าแนกประเภท การแบ่งประเภทของฟาร์มพืชในแต่ละลักษณะนั้นมีข้อดีในการแสดงลักษณะเด่น และ

ความสัมพันธ์ของรูปแบบการผลิตที่แตกต่างกันออกไปของฟาร์มพืช ที่จะช่วยให้เกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้อง

สามารถวางแผนปรับปรุงการท างานด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับฟาร์มพืชได้ดีขึ้นได้

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.1.1 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.1 เรื่องท่ี 4.1.1 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.1.1

Page 11: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.1 การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.1.2.

หลักการจัดการฟาร์มพืชเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

การจัดการฟาร์ม เป็นการจัดสรรทรัพยากรทั้งหมดที่เกษตรกรมี เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในด้านการ

ลดความเสี่ยง เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และน ามาซึ่งผลตอบแทนสูงสุด โดยใช้การวิเคราะห์

ปัจจัยด้านต่างๆและวางแผนอย่างเหมาะสม การจัดการฟาร์ม จึงเป็นหลักการส าคัญที่เกษตรกรจะต้องทราบ

และน ามาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจในการวางแผน และการด าเนินการตลอดทั้งกระบวนการท าการเกษตร

ของตนเอง เพราะการจัดการที่ดีย่อมหมายถึงผลผลิตที่ดี และน ามาซึ่งรายได้ซึ่งน ามาใช้ในการด ารงชีพ

การจัดการที่ดีควรเริ่มต้นจาการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของฟาร์มต่างๆ แล้วจึงวางแผนปรับปรุงจุดที่

ต้องเกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวให้เหมาะสม ไม่ไปก่อกวนกระบวนการผลิต เน้นการใช้ทรัพยากรภายในฟาร์มให้

มากที่สุด จึงจะเป็นการจัดการที่เหมาะสม

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.1.2 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.1 เรื่องท่ี 4.1.2 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.1.2

Page 12: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.1 การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.1.3.

กรณีตัวอย่างฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

สิงห์ปาร์ก เชียงราย เป็นกิจการฟาร์มพืชขนาดใหญ่ที่ด าเนินการโดยบริษัทเอกชน เริ่มกิจการโดยการ

เป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมเครื่องดิ่ม จึงท าให้มีแหล่งตลาดรองรับผลผลิตที่แน่นอน แต่เมื่อ

มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายและพืชที่ผลิต รวมกับการมีที่ตั้งของฟาร์มที่สวยงามและมีความอุดมสมบูรณ์ทาง

ธรรมชาติสูง เมื่อผสานกับการบริหารจัดการที่เหมาะสม ทั้งทางด้านการวางแผนผังฟาร์มที่มีความชัดเจนเป็น

สัดส่วน และมีต้นทุนการด าเนินการที่เพียงพอ รวมไปถึงการมีช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดี ท าให้ สิงห์ปาร์ก

เชียงรายประสบความส าเร็จทั้งทางด้านการผลิตสินค้าเกษตรและการบริการการท่องเที่ยว

ฟาร์มพืชทั่วไป สามารถน าตัวอย่างดังกล่าวไปปรับใช้ตามความเหมาะสมตามบริบทของฟาร์มและ

ทรัพยากรต่างๆที่เกษตรกรหรือผู้จัดการฟาร์มมีอยู่ โดยน าลักษณะเด่นทางด้านการน าทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว

น ามาต่อยอดธุรกิจ ทั้งจากการแปรรูปผลผลิตที่มีแล้วสร้างเครื่องหมายการค้าของตนเอง ท ารายการอาหารที่

สามารถรับประทานได้เฉพาะที่ฟาร์ม รวมไปถึงการใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบของพ้ืนที่ในการจัดกิจกรรม

และเปิดรับโอกาสใหม่ๆอยู่เสมอ ท าให้สิงห์ปาร์กเชียงราย เป็นต้นแบบหนึ่งของฟาร์มท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่

สามารถน าไปศึกษาและพัฒนาการท างานด้านการเกษตรและการท่องเที่ยวได้ต่อไป

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.1.3 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.1 เรื่องท่ี 4.1.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.1.3

Page 13: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.1

แนวคิดและแนวทางการจัดการระบบการเกษตรเชิงบูรณาการเพื่อความยั่งยืน

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.1

จงบอกความส าคัญของฟาร์มพืชในฐานะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวมาพอเข้าใจ

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.2

การแบ่งพ้ืนที่ ให้มีเขตพ้ืนที่บริการ และพ้ืนที่หวงห้ามมิให้นักท่องเที่ยวเข้าไป มีข้อดีอย่างไรต่อฟาร์ม

พืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.3

ให้นักศึกษาวิเคราห์ว่า เหตุใดการน าชมพ้ืนที่ในสิงห์ปารค์เชียงราย จึงต้องมีการแวะพักในจุดบริการ

และชิมผลไม้ในโครงการ

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

หลังจากประกอบกิจกรรม 4.1.1 - 4.1.3แล้ว โปรดตรวจสอบค าตอบจากแนวตอบที่ก าหนดไว้ท้ายหน่วยท่ี 4 ในคู่มือการศึกษาเล่มนี้

Page 14: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แผนการสอนตอนที่ 4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิดและวัตถุประสงค์ของตอนที่ 4.2 แล้วจึงศึกษารายละเอียดดังต่อไปนี้

หัวเรื่อง

4.2.1. ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มเลี้ยงสัตว์

4.2.2. หลักการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.2.3. กรณีตัวอย่างฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวคิด

1. ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ หมายถึง อาณาบริเวณท่ีมีการเลี้ยงสัตว์ทั้งเพ่ือการบริโภคและการใช้งานของมนุษย์

ซึ่งมีความส าคัญยิ่งในแง่การเป็นแหล่งอาหารโปรตืนและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ส าหรับการด ารงชีพของ

มนุษย์ ฟาร์มสัตว์ก็มีการแบ่งประเภทได้หลากหลายคล้ายกับฟาร์มพืช ทั้งการแบ่งจากเทคนิควิธีการ

หรือการแบ่งจากชนิดของสัตว์ที่เลี้ยง เป็นต้น

2. ฟาร์มเลี้ยงสัตว์มีรูปแบบการจัดด าเนินการที่คล้ายคลึงกับฟาร์มพืช โดยจะต้องมีการวิเคราะห์จุดแข็ง

จุดอ่อน มีการวางแผนการจัดด าเนินการ จัดแผนผังและกิจกรรมการท างาน และมีข้อควรระวัง

ประการส าคัญที่แตกต่างออกไปจากพืช คือ การระมัดระวังในเรื่องของความปลอดภัยด้านการ

ปนเปือ้นจากโรค ทั้งที่มาจากสัตว์และท่ีมาจากมนุษย์ และเรื่องของมลภาวะทางกลิ่นจากของเสีย

ต่างๆที่มาจากสัตว์ จึงควรมีการออกมาตรการในการดูแลเรื่องดังกล่าวให้เรียบร้อยก่อนจัด

ด าเนินการ

3. กรณีตัวอย่างฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร “ฟาร์มโชคชัย” ฟาร์มโชคชัยมีการ

ด าเนินการเลี้ยงสัตว์มาหลายรูปแบบและต้องเผชิญปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาและการกีด

กันทางการค้าจนต้องมีการปรับตัวครั้งส าคัญคือการน าแนวคิดการบริหารจัดการใหม่ๆ เข้ามาร่วม

กับการเปิดฟาร์มให้กลายเป็นฟาร์มท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจร ซึ่งมีการวางแผนการจัด

กิจกรรมที่เป็นระบบ มีการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆจากผลผลิตการเกษตรของฟาร์มจนประสบ

ความส าเร็จได้

วัตถุประสงค์

เมื่อศึกษาตอนที่ 4.2 แล้ว นักศึกษาสามารถ

Page 15: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

1. อธิบายความหมาย ความส าคัญและประเภทของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ได้

2. อธิบายหลักการในการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้

3. วิเคราะห์การท างานของกรณีตัวอย่างที่น าเสนอได้

Page 16: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.2

การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

ในตอนที่ 3.2 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เรื่องการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรซึ่งมี

เนื้อหาส าคัญอยู่ 3 ส่วนดังนี้

1. การแบ่งประเภทของฟาร์มสัตว์นั้น มีความแตกต่างจากฟาร์มพืชอย่างเห็นได้ชัดในเรื่องของวิธีการแบ่งที่มีความซับซ้อนหลากหลายน้อยกว่าฟาร์มพืช ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมีท่ีมาจากจ านวนชนิดของสัตว์ที่มนุษย์น ามาเลี้ยงและใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง มีปริมาณน้อยกว่าพืชหลายเท่า

2. หลักการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้น ยังคงมีหลักการส าคัญที่คล้ายคลึงงกับการจัดการฟาร์มที่เป้นการจัดสรรทรัพยากรในฟาร์มท่ีมีอยู่อย่างจ ากัดเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดและบรรลุวัตถุประสงค์ของการท าฟาร์ม กรณีของการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์ก็เช่นเดียวกัน นั่นคือ เป็นการใช้ทรัพยากรของการท าฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่การท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการผลิตสัตว์อย่างมีคุณภาพ ไม่ท าให้การปัญหาแก่การผลิตสัตว์จนเกิดความเสียหายนั่นเอง

3. การเปิดบริการการท่องเที่ยวเพ่ิมเติมขึ้นในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่เปิดกิจการตามปกตินั้น เป้นการเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสถึงประสบการณ์ด้านการท าปศุสัตว์ซึ่งเป็นสิ่งที่หาโอกาสได้ยากกว่าการท าการเกษตรรูปแบบอ่ืนๆ ทั้งยังเป็นช่องทางในการเสริมสร้างรายได้แก่ผู้จัดการฟาร์มหรือเกษตรกรที่มีความกระตือรือร้นและสนใจงานด้านการท่องเที่ยว ซึ่งในปัจจุบันมีฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ใช้โอกาสด้านการท่องเที่ยวนี้เสริมสร้างรายได้ให้กับกิจการของตนเองหลายแห่ง และบางแห่งรายได้จากการท่องเที่ยวก็เพ่ิมสูงขึ้นจนอาจเข้ามาทดแทนรายได้หลักจากการเลี้ยงสัตว์

หลังจากอ่านสาระส าคัญของตอนที่ 4.2 โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระในประมวลสาระ

ชุดวิชาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2 เรื่องที่ 4.2.1-4.2.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนดไว้ท้าย

ประมวลสาระชุดวิชาแต่ละเรื่อง

Page 17: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กบัการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.2.1

ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มเลี้ยงสัตว์

สาระส าคัญ

ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ คือ พ้ืนที่ที่ท าการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งประกอบไปด้วยการอนุบาล การดูแลบ ารุงพันธุ์ และ

การขยายพันธุ์สัตว์ ตามลักษณะของสัตว์แต่ละสายพันธุ์ เพ่ือน ามาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดการ

ฟาร์มหรือเกษตรกร

การแบ่งประเภทของฟาร์มสัตว์นั้น มีความแตกต่างจากฟาร์มพืชอย่างเห็นได้ชัดในเรื่องของวิธีการแบ่ง

ที่มีความซับซ้อนหลากหลายน้อยกว่าฟาร์มพืช ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมีท่ีมาจากจ านวนชนิดของสัตว์ที่มนุษย์น ามา

เลี้ยงและใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง มีปริมาณน้อยกว่าพืชหลายเท่าตัว อีกทั้งการเลี้ยงและอนุบาลสัตว์ก็มีความ

ซับซ้อนมากกว่าการจัดการกับพืช เพราะมีเงื่อนไขในเรื่องของโรคและการป้องกันก าจัดที่ยุ่งยากกว่ามาก แต่

อย่างไรก็ตามเกณฑ์การแบ่งทั้งหลายก็เป็นไปเพ่ือให้มนุษย์สามารถน าลักษณะเฉพาะแต่ละแบบไปใช้ประโยชน์

ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมสอดคล้องกับการท างานของผู้จัดการฟาร์มและเกษตรกร

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.2.1 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.2 เรื่องท่ี 4.2.1 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.2.1

Page 18: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กบัการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.2.2

หลักการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยว เป็นการใช้ทรัพยากรของการท าฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เพ่ือให้

เกิดประโยชน์แก่การท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการผลิตสัตว์อย่างมีคุณภาพ ไม่ท าให้การปัญหาแก่การผลิตสัตว์จน

เกิดความเสียหาย ซึ่งมีหลักการคร่าวคือ การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง ประเมินทรัพยากรที่มีในฟาร์มเลี้ยงสัตว์

ของตัวเองเสียก่อนให้ชัดเจนว่ามีทรัพยากรใดบ้างที่สามารถน ามาใช้เป็นจุดขายได้ หลังจากนั้นจึงวางแผนการ

ท างาน และสร้างมาตรการที่รัดกุมในการท่องเที่ยว มีผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ ก็จะสามารถท าให้การท่องเที่ยวใน

ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เข้ามาเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางรายได้ให้เกษตรกรได้ในที่สุด

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.2.2 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.2 เรื่องท่ี 4.2.2 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.2.2

Page 19: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กบัการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.2.3

กรณีตัวอย่างฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

การเปิดบริการการท่องเที่ยวเพ่ิมเติมขึ้นในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่เปิดกิจการตามปกตินั้น เป้นการเปิด

โอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสถึงประสบการณ์ด้านการท าปศุสัตว์ซึ่งเป็นสิ่งที่หาโอกาสได้ยากกว่าการท า

การเกษตรรูปแบบอ่ืนๆ ทั้งยังเป็นช่องทางในการเสริมสร้างรายได้แก่ผู้จัดการฟาร์มหรือเกษตรกรที่มีความ

กระตือรือร้นและสนใจงานด้านการท่องเที่ยว ซึ่งในปัจจุบันมีฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ใช้โอกาสด้านการท่องเที่ยวนี้

เสริมสร้างรายได้ให้กับกิจการของตนเองหลายแห่ง และบางแห่งรายได้จากการท่องเที่ยวก็เพ่ิมสูงขึ้นจนอาจเข้า

มาทดแทนรายได้หลักจากการเลี้ยงสัตว์ โดยกรณีศึกษา “ฟาร์มโชคชัย” ที่ได้ยกตัวอย่างขึ้น จัดเป็นพ้ืนที่ที่มี

การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวที่มีกิจกรรมหลัก กิจกรรมรองที่มีความหลากหลาย สามารถเป็นต้นแบบในการ

ประยุกต์ ปรับปรุงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.2.3 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.2 เรื่องท่ี 4.2.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.2.3

Page 20: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.2

การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.1

จงอธิบายความหมายของฟาร์มเลี้ยงสัตว์มาพอสังเขป

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.2

การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ผู้จัดการฟาร์มควรจะจัดกิจกรรมโดยอ้างอิงกับอะไร

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.3

จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงว่า เหตุใดฟาร์มโชคชัยจึงสามารถฝ่าฟันวิกฤติที่เกิดขึ้นกับฟาร์มมาได้

หลายครั้ง จนประสบความส าเร็จในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจร

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

หลังจากประกอบกิจกรรม 4.2.1-4.2.3 แล้ว โปรดตรวจสอบค าตอบจากแนวตอบที่ก าหนดไว้ท้ายหน่วยที่ 4 ในคู่มือการศึกษาเล่มนี้

Page 21: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แผนการสอนตอนที่ 4.3

การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 4.3 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป

4.3.1. ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มผสมผสาน

4.3.2. หลักการจัดการฟาร์มผสมผสานเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4.3.3. กรณีตัวอย่างฟาร์มผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวคิด

1. ฟาร์มผสมผสาน หมายถึง อาณาบริเวณหรือพ้ืนที่ ที่ท ากิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปท้ังการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ โดยมีการใช้ทรัพยากรต่างๆภายในร่วมกันอย่างสัมพันธ์เกื้อกูล และบรรลุวัตถุประสงค์ในการท าการเกษตรของเกษตรกรได้ ซึ่งการผสมผสานนั้นสามารถท าได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ทั้งการผสมผสานการปลูกพืช การผสมผสานการเลี้ยงสัตว์ และการผสมผสานทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น

2. การเปิดธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยใช้ฟาร์มผสมผสานเป็นทรัพยากรส าคัญนั้น อาจกล่าวได้ว่า ฟาร์มผสมผสานมีข้อได้เปรียบทางด้านกิจกรรมมากกว่าฟาร์มพืช หรือฟาร์มเลี้ยงสัตว์จากกิจกรรมที่หลากหลายมากกว่า แต่ในขณะเดียวกันฟาร์มชนิดนี้ก็ใช้ทรัพยากรต่างๆในการท างานเป็นจ านวนมากเช่นกัน ทั้งแรงงาน เวลา และการบริหารจัดการ การที่จะท าให้ฟาร์มผสมผสานประสบความส าเร็จคือการบริหารจัดการทรัพยากรเหล่านั้นอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนที่มากเกินไป และเสริมสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยวที่ดีได้ แนวคิดส าคัญประการหนึ่งที่สามารถสอดแทรกลงไปในการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในฟาร์มผสมผสานได้ จึงเป็นแนวคิดในเรื่องการถ่ายเทแร่ธาตุอาหารและพลังงาน รวมไปถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งถ้าผู้จัดท าได้ดี ก็จะสร้างความโดดเด่นให้กับฟาร์มผสมผสานให้แตกต่างจากฟาร์มอ่ืนๆได้

3. กรณีตัวอย่างฟาร์มผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร “บ้านสวนทวีพิกุล” เป็นการแสกดงภาพของฟาร์มผสมผสานที่มีการวางแผนการจัดการอย่างเป็นระบบ และมีแนวคิดรวบยอด (concept) ของการท างานที่ชัดเจนว่าต้องการด าเนินกิจการต่างๆของฟาร์มด้วยแนวคิด “เกษตรสุนทรีย์” จึงได้ลงมือจัดกิจกรรมการเกษตรที่มองแล้วสบายตา ชมแล้วสบายใจ และยังได้ผลตอบแทนที่ดีจากการเลือกผลิตสิ่งที่มีราคา และมีการหมุนเวียนทรัพยากรต่างๆอย่างคุ้มค่า จึงเป็นแนวทางส าคัญท่ีตอกย้ าว่า หากเกษตรกรมีการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบแล้ว ก็จะสามารถด าเนินการกิจกรรมต่างๆให้ประสบความส าเร็จได้ในที่สุด

Page 22: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

วัตถุประสงค ์

เมื่อศึกษาตอนที่ 4.3 แล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความหมาย ความส าคัญและประเภทของฟาร์มผสมผสานได้ 2. อธิบายหลักการในการจัดการฟาร์มผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ 3. วิเคราะห์การท างานของกรณีตัวอย่างที่น าเสนอได้

Page 23: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.3

การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

ในตอนที่ 4.3 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เรื่องการจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซึ่ง

แบ่งออกเป็น 3 เรื่องหลัก ได้แก่

1. การเกษตรแบบผสมผสาน หมายถึง ระบบการเกษตรที่มีการปลูกพืชและหรือมีการเลี้ยงสัตว์หลายชนิดในพ้ืนที่เดียวกัน โดยที่กิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดสามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์รวมกันแบบผสมผสานนั้น ถ้าต้องการให้เกิดการถ่ายเทธาตุอาหารที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก็ควรมีการผสมผสานพืชและสัตว์ให้มีความหลากหลายและซับซ้อนมากยิ่งขึ้นก็จะท าให้ระบบสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

2. การเปิดธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยใช้ฟาร์มผสมผสานเป็นทรัพยากรส าคัญ จะต้องมีการบริหารจัดการทรัพยากรเหล่านั้นอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนที่มากเกินไป และเสริมสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยวที่ดีได ้

3. กรณีตัวอย่างบ้านสวนทวีพิกุล เป็นกรณีศึกษาการผสมผสานฟาร์มสัตว์และฟาร์มพืชเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ ยังมีการสอดแทรกองค์ความรู้ในกิจกรรมการท่องเที่ยวของศูนย์ จึงมีความน่าสนใจในการศึกษาและถอดบทเรียน

หลังจากอ่านสาระส าคัญของตอนที่ 4.3 โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระในประมวลสาระ

ชุดวิชาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.1 เรื่องที่ 4.3.1-4.3.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนดไว้ท้าย

ประมวลสาระชุดวิชาแต่ละเรื่อง

Page 24: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.3 การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.3.1

ความหมาย ความส าคัญของฟาร์ม และประเภทของการท าฟาร์มผสมผสาน

สาระส าคัญ

หลักการส าคัญของการท าการเกษตรผสมผสานก็คือ การท าการเกษตรที่มีกิจกรรมตั้งแต่ 2 ชนิด

ร่วมกันในพื้นที่ที่ใกล้เคียงกัน มีการใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันอย่างสัมพันธ์เกื้อกูล ซึ่งจะน าไปสู่ความมั่นคงของ

ผลผลิตและสามารถช่วยลดความเสื่อมถอยของทรัพยากรการผลิตได้ การเกษตรแบบผสมผสานนั้น สามารถ

ผสมพืชหลายชนิดรวมกันได้ สามารถเลี้ยงสัตว์หลายชนิดรวมกันได้ นอกจากนี้ ก็ยังสามารถเลี้ยงสัตว์และปลูก

พืชไปพร้อมกันได้ด้วย โดยจะต้องระมัดระวังเรื่องการถ่ายเทพลังงานในอาหารให้ได้ จึงจะเป็นการผสมผสานที่

สมบูรณ์

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.3.1 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เรื่องท่ี 4.3.1 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.3.2

Page 25: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.3 การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.3.2

หลักการจัดการฟาร์มผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

แม้ว่าฟาร์มผสมผสาน จะมีรูปแบบส าคัญคือการมีกิจกรรมการเกษตรหลายชนิดในพ้ืนที่เดียวกัน และ

มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างสัมพันธ์เกี่ยวเนื่อง แต่การท าฟาร์มส่วนใหญ่ย่อมมีความแตกต่างด้าน

วัตถุประสงค์การท าฟาร์ม รวมไปถึงข้อจ ากัดและแนวคิดหรือรูปแบบต่างๆที่เกษตรกรผู้ด าเนินการยึดถือปฏิบัติ

อยู่ ดังนั้นหลักการทั้ง 8 ประการที่สรุปไว้จึงถือเป็นหลักการคร่าวๆที่เกษตรกรสามารถน าไปปรับใช้ให้เข้ากับ

วัตถุประสงค์และรูปแบบฟาร์มของตนเอง จึงจะมีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.3.2 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เรื่องท่ี 4.3.2 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.3.2

Page 26: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

ตอนที่ 4.3 การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญและกิจกรรมเร่ืองที่ 4.3.3

กรณีตัวอย่างฟาร์มผสมผสานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระส าคัญ

บ้านสวนทวีพิกุล เป็นฟาร์มผสมผสานที่น าเอากิจกรรมการเกษตรหลากหลายรูปแบบมาผสานจน

กลายเป็นสวนเกษตรที่ให้ความรู้ และเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจแก่นักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจ โดยใช้แนวคิด

ด้านการเกษตรสุนทรีย์ในการด าเนินการ จุดเด่นส าคัญของกรณีตัวอย่างนี้ คือการมีก าหนดแนวคิดรวบยอด

(concept) ของงานที่คิดจะท า และลงมือวางแผนการด าเนินโครงการอย่างเป็นขั้นตอน จะเห็นได้ว่าในกรณี

ของการวางแผนด้านการเกษตร บ้านสวนทวีพิกุลจะเลือกผลิตสิ่งที่มีราคาค่าตอบแทนที่สูง แม้ว่ าจะลงทุนสูง

แต่ก็เป็นไปอย่างรัดกุม และยังมีความยืดหยุ่นในการด าเนินการ สามารถปรับเปลี่ยนแผนการท างานได้เสมอ

หากวิเคราะห์แล้วว่าอาจมีความเสี่ยงที่เกินกว่าจะรับได้ และมีการก าหนดเป้าหมายและร่างแผนงานส าหรับ

การด าเนินการในอนาคตว่า ทิศทางของธุรกิจการเกษตรและการบริการการท่องเที่ยวของตนเองจะเป็นเช่นไร

ซึ่งเป้นสิ่งที่น่าสนใจที่เกษตรกรที่สนใจงานด้านการท่องเที่ยวจะน าแนวคิดดังกล่าวไปปรับใช้กับพ้ืนที่ และ

วิธีการท างานของตนเอง

หลังจากอ่านสาระส าคัญของเรื่องที่ 4.3.3 นี้แล้ว โปรดศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระใน

ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เรื่องท่ี 4.3.3 และประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนตามที่ก าหนด

ไว้ท้ายประมวลสาระชุดวิชาเรื่องที่ 4.3.3

Page 27: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

สาระส าคัญและกิจกรรมตอนที่ 4.3

การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.1

จงอธิบายความหมายของฟาร์มผสมผสานมาพอเข้าใจ

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.2

หลักการส าคัญที่ควรสอดแทรกลงไปในกิจกรรม เมื่อมีการจัดกิจกรรมท่องเที่ยงในฟาร์มผสมผสานคือ

อะไร

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.3

บ้านสวนทวีพิกุล มีแนวคิดรวบยอดด้านการท าการเกษตร (concept) ว่าอย่างไร และน าไปสู่การ

ท างานด้านการเกษตร และการท่องเที่ยวการเกษตรแบบใดบ้าง

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________

หลังจากประกอบกิจกรรม 4.3.1-4.3.3 แล้ว โปรดตรวจสอบค าตอบจากแนวตอบที่ก าหนดไว้ท้ายหน่วยที่ 4 ในคู่มือการศึกษาเล่มนี้

Page 28: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แนวตอบกิจกรรมหน่วยที ่4

การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ตอนที่ 4.1 การจัดการฟาร์มพืชกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.1

ฟาร์มพืชเมื่อกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวแล้วจะมีความส าคัญบางประการดังนี้

1. เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

2. เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับพืช

3. เป็นช่องทางประชาสัมพันธ์สินค้าและผลผลิตการเกษตรของฟาร์ม

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.2

การแบ่งพ้ืนที่ จะท าให้เกิดการท างานที่เป็นสัดส่วน สะดวกแก่การวางแผนกิจกรรมและการ

ด าเนินการผลิตในฟาร์มพืช ทั้งยังช่วยเป็นจุดพัก จุดอนุบาลพันธุ์ไม้ได้อีกด้วย

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.1.3

เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์คุณภาพ และความปลอดภัยของผลผลิตภายในฟาร์ม ทั้งยังเปิดโอกาสให้

นักท่องเที่ยวได้มีประสบการณ์ใหม่ๆ เพ่ือสร้างความประทับใจจนน าไปบอกต่อกับเพ่ือน และชักชวนการกลับ

ลงอีกรั้ง

ตอนที่ 4.2 การจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.1

ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ คือ พื้นที่ที่ท าการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งประกอบไปด้วยการอนุบาล การดูแลบ ารุงพันธุ์ และ

การขยายพันธุ์สัตว์ ตามลักษณะของสัตว์แต่ละสายพันธุ์ เพ่ือน ามาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดการ

ฟาร์มหรือเกษตรกรนั่นเอง

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.2

ควรจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยอ้างอิงกับกิจกรรมต่างๆที่เกิดข้ึนกับสัตว์ในฟาร์ม เช่น การเกิด การ

อนุบาล ฯลฯ

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.2.3

อาจตอบได้ว่า ฟาร์มโชคชัยเลือกท าในสิ่งที่ตนเองถนัด และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์

คุ้มค่า จะสังเกตเห็นว่า ฟาร์มโชคชัยเคยเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์สัตว์ที่เลี้ยงมาแล้วครั้งหนึ่ง แต่ก็ปรับการท างาน

โดยใช้ทรัพยากรที่มี เปิดใหม่เป็นฟาร์มโคนม และก็เจอวิกฤติอีกครั้ง แต่ด้วยความไม่ย่อท้อ และการท างาน

Page 29: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

อย่างต่อเนื่อง ได้มีการปรับทรัพยากรที่มีอยู่แล้วคือฟาร์มโคนม มาใช้เป็นทรัพยากรในการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

และไม่นานฟาร์มโชคชัยก็ประสบความส าเร็จในด้านการท่องเที่ยวได้ในที่สุด

ตอนที่ 4.3 การจัดการฟาร์มผสมผสานกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.1

ฟาร์มผสมผสานหมายถึง อาณาบริเวณหรือพ้ืนที่ ที่ท ากิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปทั้งการ

ปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ โดยมีการใช้ทรัพยากรต่างๆภายในร่วมกันอย่างสัมพันธ์เกื้อกูล และบรรลุ

วัตถุประสงค์ในการท าการเกษตรของเกษตรกรได้

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.2

หลักการที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆในระบบนิเวศ การหมุนเวียนธาตุอาหารในธรรมชาติ

และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4.3.3

บ้านสวนทวีพิกุลยึดแนวคิด เกษตรสุนทรีย์ จึงท าให้เกิดการวางแผนการท างานและการจัดกิจกรรมที่

ยึดเอาความสุขความสบายใจของการท างานเป็นที่ตั้ง กล่าวคือ ท างานท่ามกลางภูมิทัศน์ที่สวยงาม ท างานแล้ว

ได้ค่าตอบแทนที่ดี พอเกิดธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรก็ใช้แนวคิดดังกล่าวในการบริการนักท่องเที่ยว คือ การ

ได้เที่ยวชมสถานที่ที่สวยงาม ได้รับความรู้ความเข้าใจงานด้านการเกษตร และมีโอกาสในกรพัฒนาตนเองด้วย

กิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาจิตใจ

Page 30: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 4

จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวจากตัวเลือก (1) (2) (3) (4) และ (5) ส าหรับ

ค าถามแต่ละข้อโดยใส่เครื่องหมาย หน้าตัวเลือกที่นักศึกษาคิดว่าเป็นค าตอบที่ถูกต้องที่สดุ 1 ฟาร์มพืชในศูนย์เรียนรู้ประจ าต าบล เป็นฟาร์มพืชประเภทใด

1. ฟาร์มเพ่ือการค้า

2. ฟาร์มที่ไม่มุ่งเน้นผลก าไร

3. ฟาร์มเชิงธุรกิจ

4. ฟาร์มต้นแบบ

5. ฟาร์มเศรษฐกิจพอเพียง

2 ข้อใดไม่ใช่เหตุผลของการก าหนดพื้นที่หวงห้ามภายในฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. ลดพื้นที่การเยี่ยมชมของนักท่องเที่ยว

2. เพ่ิมพ้ืนที่การอนุบาลพันธุ์พืช

3. จัดเก็บวัตถุอันตรายในฟาร์ม

4. ลดการบาดเจ็บโดยการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของนักท่องเที่ยว

5. เพ่ิมความสะดวกในการด าเนินการฟาร์มของเจ้าของฟาร์ม

3 ข้อใดเป็นสิ่งพึงกระท า หลังจากท่ีเกษตรกร ได้ตัดสินใจจะเริ่มกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายใน

ฟาร์มของตนเอง

1. วางแผนผังในฟาร์ม

2. ปรับปรุงภูมิทัศน์

3. วิเคราะห์หาจุดเด่น หรือจุดอ่อนจุดแข็งของฟาร์ม

4. ก าหนดพ้ืนที่ใช้ประโยชน์

5. ก าหนดเขตหวงห้าม

Page 31: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

4 กิจกรรมข้อใด ตรงกับความหมายของกิจกรรมหลักในการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. การน าชมการท าหัตถกรรม

2. การน าชมภายในฟาร์ม

3. การปั่นจักรยานเสือภูเขา

4. การสอนท าไอศกรีม

5. การลองแก่ง

5 กิจกรรมหลักของฟาร์มพืชเพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีขนาดใหญ่ มักเป็นกิจกรรมใดต่อไปนี้

1. การน าชมกิจการฟาร์ม

2. การนั่งรถเอทีวี

3. การชมการแสดงคาวบอย

4. การเปิดลานเบียร์

5. การล่องแก่ง

6 ข้อใดไม่ใช่ความส าคัญด้านการท่องเที่ยวของฟาร์มสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

1. เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ

2. เป็นแหล่งเรียนรู้

3. เสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร

4. เป็นแหล่งรายได้

5. สร้างเสริมประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยว

7 หากต้องการเปิดฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ข้อใดเป็นข้อควรระวังที่เจ้าของฟาร์มต้อง

ค านึงถึงเป็นพิเศษ

1. อัตราการเติบโตของสัตว์

2. ความอ่อนไหวต่อโรคระบาด

3. กลิ่นของเสียในฟาร์ม

4. อาการตื่นคนของสัตว์ในฟาร์ม

5. ความแออัดของจ านวนสัตว์

Page 32: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

8 นอกเหนือจากการป้องกันโรคระบาด ฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพ่ือการท่องเที่ยวควรจะระมัดระวังเรื่องใดเป็น

พิเศษ

1. การจัดเก็บอาหารสัตว์

2. การดูแลแรงงานฟาร์ม

3. การแบ่งพ้ืนที่ปฏิบัติการณ์

4. ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว

5. การจัดการเส้นทางการท่องเที่ยว

9 การถ่ายเทธาตุอาหารและพลังงาน เป็นแนวคิดส าคัญที่ควรถ่ายทอดลงไปในการจัดกิจกรรมของฟาร์ม

ชนิดใด

1. ฟาร์มเกษตรแบบเข้มข้น

2. ฟาร์มเกษตรพอเพียง

3. ฟาร์มพืช

4. ฟาร์มเลี้ยงสัตว์

5. ฟาร์มผสมผสาน

10 จากกรณีตัวอย่าง “บ้านสวนทวีพิกุล” ผู้ด าเนินการฟาร์มใช้แนวคิดใดในการจัดด าเนินกิจการฟาร์ม

1. แนวคิดเกษตรพอเพียง

2. แนวคิดเกษตรก้าวหน้า

3. แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่

4. แนวคิดเกษตรสุนทรีย์

5. แนวคิดเกษตรกรรมธรรมชาติ

Page 33: หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับ ...agri.stou.ac.th/UploadedFile/หน่วยที่ 4...4 การน าชมก จการภายในฟาร

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน

หน่วยที่ 4 การจัดการฟาร์มกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ก่อนเรียน หลังเรียน ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1 4 1. 2 2 4 2. 1 3 3 3. 3 4 2 4. 2 5 5 5. 1 6 1 6 3 7 1 7 2 8 4 8 4 9 3 9 5 10 5 10 4


Recommended