พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย€¦ ·...

Post on 05-Aug-2020

1 views 0 download

transcript

sak 20/9/54

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปปางแสดงธรรม ประทับนั่งแบบยุโรปศิลปะทวารวดี

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิศิลปะลพบุรี

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปนาคปรกปางมารวิชัยศิลปะภาคใต้ สกลุช่างไชยา

ตวัอย่าง

พระศรีศากยมุนี วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ

ศิลปะสุโขทัย

ตวัอย่าง

พระพุทธชินราชวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก

ศิลปะสุโขทัย

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปลีลาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพฯ

ศิลปะสุโขทัย

ตวัอย่าง

พระพุทธสิหิงค์ วัดพระสิงห ์จังหวัดเชียงใหม่

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

พระพุทธสิหิงค์พระที่นั่งพุทไธสวรรย์

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

พระพุทธสิหิงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ศิลปะสกุลช่างนครศรีธรรมราช

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปปางมารวิชัยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

พระเจ้าเก้าตื้อวัดบุปผาราม จังหวัดเชียงใหม่

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

พระเจ้าแข้งคมวัดศรีเกิด จังหวัดเชียงใหม่

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีฯวัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ศิลปะอยุธยา

ตวัอย่าง

พระพุทธตรีโลกเชษฐ์วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ

ศิลปะรัตนโกสินทร์

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิวัดนางนอง กรุงเทพฯศิลปะรัตนโกสินทร์

ตวัอย่าง

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต)วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ

ศิลปะล้านนา

ตวัอย่าง

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

และพุทธศิลป์ในดินแดนไทย

พระพุทธรูปส�ำคัญ

ปรับปรุงจากงานวิจัยเรื่อง

“พระพุทธรูปในประเทศไทย :

รูปแบบ พัฒนำกำร และควำมเชื่อของคนไทย” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๕๓

ตวัอย่าง

  ISBN  978-974-7385-59-5

  หนงัสอื  พระพทุธรปูส�าคญัและพทุธศลิป์ในดนิแดนไทย

  ผูเ้ขยีน  ศาสตราจารย์ ดร. ศกัดิช์ยั สายสงิห์

  พมิพ์ครัง้ที ่๑   ตลุาคม ๒๕๕๔

  จ�ำนวนพมิพ์  ๓,๐๐๐ เล่ม

  รำคำ  ๔๐๐ บาท

  © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�านักพิมพ์เมืองโบราณ ในนาม บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด

  บรรณำธกิำรเล่ม  อภวินัทน์  อดลุยพเิชฏฐ์ ภำพและภำพลำยเส้น ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

  พสิจูน์อกัษร  วรนิวติตา ดารามาตร์

ออกแบบปก/รปูเล่ม  ชาญศกัดิ ์สขุประชา

  ควบคมุกำรผลติ  ธนา  วาสกิศริิ

  แยกส/ีเพลท  เอน็อาร์ฟิล์ม โทร. ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙

  พมิพ์ที ่ โรงพมิพ์ฟิสกิส์เซน็เตอร์ โทร. ๐-๒๔๓๓-๗๗๐๔

  จดัจ�ำหน่ำย  บรษิทัวริยิะธรุกจิ จ�ากดั

    ๒๘, ๓๐ ถนนปรนิายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร

    กรงุเทพฯ ๑๐๒๐๐

    โทร. ๐-๒๒๘๑-๖๑๑๐ (อตัโนมตั)ิ

    โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๗๐๐๓

ข้อมูลทำงบรรณำนุกรมของหอสมุดแห่งชำติศักดิ์ชัย สายสิงห์.  พระพุทธรูปส�าคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย.--กรุงเทพฯ :  เมืองโบราณ, ๒๕๕๔.  ๔๒๔ หน้า.  ๑. พระพุทธรูป I. ชื่อเรื่อง.ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๗๓๘๕-๕๙-๕

ส�ำนกัพมิพ์เมอืงโบรำณ (ในนาม บรษิทัวริยิะธรุกจิ จ�ากดั)

๒๘, ๓๐ ถนนปรนิายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรงุเทพฯ ๑๐๒๐๐

โทร. ๐-๒๒๘๑-๖๑๑๐ (อตัโนมตั)ิ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๗๐๐๓

ทีป่รกึษำ ศรศีกัร วลัลโิภดม  ธดิา สาระยา  เสนอ นลิเดช  พชิยั วาศนาส่ง  สวุรรณา เกรยีงไกรเพช็ร์

ผูอ้�ำนวยกำร สวุพร ทองธวิ  ผูจ้ดักำรทัว่ไป/ผูอ้�ำนวยกำรฝ่ำยศลิป์ จ�านงค์ ศรนีวล

ผูอ้�ำนวยกำรฝ่ำยกำรตลำดและประชำสมัพนัธ์ ปฏมิา หนไูชยะ

บรรณำธกิำรส�ำนกัพมิพ์ อภวินัทน์  อดลุยพเิชฏฐ์  ทีป่รกึษำกฎหมำย สมพจน์ เจยีมพานทอง

ตวัอย่าง

พระพุทธรูปส�ำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย เล่มนี้มีเนื้อหำเกี่ยว

กับพระพุทธรูปในศิลปะไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน ที่ผู ้เขียนคือ ศ. ดร. 

ศักดิ์ชัย สายสิงห์ แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี 

มหาวทิยาลยัศลิปากร ได้ปรบัปรงุย่นย่อเนือ้หาจากงานวจิยัชดุใหญ่ของ 

ท่านในหวัข้อ "พระพทุธรปูในประเทศไทย : รปูแบบ พฒันาการ และความ 

เชื่อของคนไทย" ให้เป็นหนังสือความรู้อ่านง่ายส�าหรับคนทั่วไป  ด้วย 

ความตั้งใจที่จะให้ผู้อ่านได้เข้าใจประวัติและพัฒนาการของพระพุทธรูป 

ในงานศิลปะไทย นับแต่อดีตที่มีการสร้างพระพุทธรูปยุคแรกของศิลปะ 

ไทยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีสาระหลักคือ การวิเคราะห์ลักษณะและ 

รปูแบบของพระพทุธรปูส�าคญัประกอบกบัต�านานความเป็นมา และบรบิท 

ทางประวัติศาสตร์  รวมทั้งการวิเคราะห์วิกฤตศรัทธาต่อพุทธศาสนา 

ของคนปัจจุบันที่ส่งผลต่องานพุทธศิลป์  นับได้ว่าหนังสือเล่มนี้ให้ 

เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธรูปในศิลปะไทยทุกสมัยสมบูรณ์ที่สุดเล่มหนึ่ง

  ทั้งนี้พัฒนาการของการสร้างพระพุทธรูปในดินแดนไทยที่มี 

มาอย่างต่อเนือ่งมากกว่า ๑ พนัปีนบัแต่สมยัศลิปะทวารวดจีนถงึปัจจบุนั 

มิได้สะท้อนให้เห็นการสร้างสรรค์ทางศิลปะที่มีศรัทธาทางศาสนาเป็น 

ศูนย์กลางเท่านั้น แต่ยังจะเป็นแนวทางให้พุทธศาสนิกชนได้พิจารณา 

ศรัทธาต่อพุทธศาสนาของผู้คนในอดีตและสภาพการณ์ในปัจจุบัน อัน 

จะส่งผลต่อการสืบทอดงานพุทธศิลป์ที่ทรงคุณค่าและความหมายต่อไป 

ในอนาคต

ส�ำนักพิมพ์เมืองโบรำณ

ตุลาคม ๒๕๕๔

ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์

ตวัอย่าง