+ All Categories
Home > Documents > สารบัญ - Prince of Songkla...

สารบัญ - Prince of Songkla...

Date post: 19-Jul-2020
Category:
Upload: others
View: 1 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
23
พืชอาหารสัตว สารบัญ คํานํา 1 อาหารสัตว 4 พืชอาหารสัตว 5 แหลงกําเนิด การแพรกระจายและการเปนพืชปลูก 6 การปลูกสรางทุงหญา 8 การเตรียมพื้นที9 การเตรียมดิน 10 การเลือกชนิดของพืชอาหารสัตว 10 พืชตระกูลหญา 11 หญาซิกแนล 11 หญาขน 13 หญารูซี13 หญากินนี 14 หญาพลิแคทตูลัม 15 หญาเนเปยร 16 หญาซูดาน 16 หญาฮิวมิดิโคลา 17 พืชตระกูลถั่ว 18 ถั่วลาย 18 ถั่วเวอราโน 18 กระถิน 19 ถั่วพินตอย 19 การเตรียมวัสดุปลูก 20 การคลุกเมล็ดพันธุถั่วอาหารสัตวดวยไรโซเบียม 22 ฤดูกาลที่เหมาะสมในการปลูก 22 วิธีการปลูก 23 การเตรียมแปลงกลา 23 ความอุดมสมบูรณของดิน และการใชปุยสําหรับพืชอาหารสัตว 24 การใชประโยชนจากทุงหญา 24 คุณคาทางโภชนาการของพืชอาหารสัตว 25 การจัดการทุงหญา 29 การผลิตพืชอาหารสัตว และแนวทางการเพิ่มผลผลิตพืชอาหารสัตว เพื่อปรับปรุงและสนับสนุนการพัฒนาปศุสัตวของประเทศไทย 33 บรรณานุกรม 34
Transcript
Page 1: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

พืชอาหารสัตว สารบัญ คํานํา 1 อาหารสัตว 4 พืชอาหารสัตว 5 แหลงกําเนิด การแพรกระจายและการเปนพืชปลูก 6 การปลูกสรางทุงหญา 8 การเตรียมพื้นที่ 9 การเตรียมดิน 10 การเลือกชนิดของพืชอาหารสัตว 10 พืชตระกูลหญา 11 หญาซิกแนล 11 หญาขน 13 หญารูซี่ 13 หญากินนี 14 หญาพลิแคทตูลัม 15 หญาเนเปยร 16 หญาซูดาน 16 หญาฮิวมิดิโคลา 17 พืชตระกูลถั่ว 18 ถั่วลาย 18 ถั่วเวอราโน 18 กระถิน 19 ถั่วพินตอย 19 การเตรียมวัสดุปลูก 20 การคลุกเมล็ดพันธุถั่วอาหารสัตวดวยไรโซเบียม 22 ฤดูกาลที่เหมาะสมในการปลูก 22 วิธีการปลูก 23 การเตรียมแปลงกลา 23 ความอุดมสมบูรณของดิน และการใชปุยสําหรับพืชอาหารสัตว 24 การใชประโยชนจากทุงหญา 24 คุณคาทางโภชนาการของพืชอาหารสัตว 25 การจัดการทุงหญา 29 การผลิตพืชอาหารสัตว และแนวทางการเพิ่มผลผลิตพืชอาหารสัตว เพื่อปรับปรุงและสนับสนุนการพัฒนาปศุสัตวของประเทศไทย 33 บรรณานุกรม 34

Page 2: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

1. คํานํา ถึงแมวาประเทศไทยจะเปนประเทศเกษตรกรรม และมีการใชพื้นที่ดินมากกวา 42% สําหรับการกสิกรรม แตปรากฏวามีการใชประโยชนจากพื้นที่ดินเพื่อการเลี้ยงสัตวโดยตรงคือเปนทุงหญาเปนสัดสวนที่นอยมาก (ตารางที่ 1) ในขณะที่การเลี้ยงสัตวประเภทเคี้ยวเอื้อง เชน โค กระบือ แพะ และแกะ มีจํานวนรวมกันถึงกวา 10.9 ลานตัว และมีแนวโนมจะเพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อย ๆ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งระบุเปาหมายของการพัฒนาปศุสัตวอยางชัดเจน ประกอบกับความตื่นตัวของกสิกรและเอกชนในเรื่องโคนม ทําใหอัตราการเพิ่มของจํานวนสัตวโดยเฉพาะโคนม เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว (รูปที่ 1) โดยเฉพาะในระยะเวลา 5 ปที่ผานมา ตารางที่ 1 การใชที่ดินเพื่อการเกษตรป พ.ศ. 2534

ภาค เหนือ กลาง อิสาน ใต รวม % ที่นา 15,196.9 12,530.8 37,972.8 3,612.4 69,313.0 21.6 พืชไร 10,474.9 9,438.4 13,454.9 150.3 33,518.6 10.5 ไมยืนตนและไมผล 1,753.9 4,379.4 1,844.1 12,120.9 20,098.4 6.3 พืชผักและไมดอก 275.6 309.4 209.1 64.1 858.2 0.3 ทุงหญา 134.2 124.5 394.8 53.3 706.8 0.2 อื่น ๆ 1,508.8 1,847.0 3,842.7 1,332.8 8,530.8 2.7 ที่ถือครอง 29,394.3 28,629.5 57,718.6 17,333.9 133,076.2 41.5 ปาไม 48,214.4 15,192.1 13,624.2 8,405.6 85,436.3 26.6 รวมพื้นท่ีท้ังหมด 106,027.7 64,938.3 105,534.0 44,196.9 320,696.9 100 ที่มา: ศูนยสถิติการเกษตร (2536) เปนที่ยอมรับกันวา การพัฒนาปศุสัตวของประเทศจะตองอาศัยการพัฒนาองคประกอบหลัก 3 ทางคือ การพัฒนาพันธุสัตว การพัฒนาพืชอาหารสัตว และการพัฒนาระบบการจัดการ ซึ่งรวมถึงทั้งสุขศาสตรสัตว ระบบการเลี้ยงและการตลาด ผลซึ่งจะไดรับจากความสําเร็จของการพัฒนาปศุสัตวในดานกสิกรเอง ไดแก

1.1 การมีอาหารเพิ่มขึ้น จากผลิตภัณฑสัตว 1.2 การมีแรงงานสัตวเพิ่มขึ้น 1.3 การมีรายไดเพิ่มขึ้น จากการขายผลิตภัณฑสัตว 1.4 มีการใชแรงงานครอบครัวอยางเต็มที่ 1.5 สามารถใชประโยชนจากพื้นที่ไดมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่รกรางวางเปลา และพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพต่ําสําหรับการเกษตรชนิดอื่น ๆ

รูปที่ 1 จํานวนโค กระบือ แพะ และแกะ ของประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2523-2536 (ศูนยสถิติการเกษตร, 2536)

2

Page 3: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ในภาพรวมของประเทศแลว การพัฒนาปศุสัตวยอมกอใหเกิดประโยชนทั้งในแงของการลดการนําเขา หรืออาจจะเพิ่มการสงออกสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว ในกรณีที่มีผลิตผลมากเกินกวาความตองการใชในประเทศ นอกเหนือจากนี้แลวยังเปนโอกาสใหเกิดการสรางงานที่ตอเนื่องจากการเลี้ยงสัตว เชน อุตสาหกรรมนม อุตสาหกรรมเนื้อสัตวสดหรือแปรรูป ตลอดจนอุตสาหกรรมเครื่องหนัง ในปจจุบันนี้มูลคาของการนําเขาสัตวและผลิตภัณฑจากสัตวเฉพาะเคี้ยวเอื้องสูงกวา 10,339 ลานบาท และมีการสงออกเปนมูลคากวา 3,761 ลานบาท (ตารางที่ 2) จะเห็นวา ในรอบปมีทั้งการนําเขาและการสงออกสัตวและผลิตภัณฑสัตว อันแสดงใหเห็นวาปจจุบันประเทศไทยมีความเจริญเติบโตอยางมากในการพัฒนาปศุสัตว แตอยางไรก็ตามการผลิตภายในประเทศก็ยังไมเพียงพอกับความตองการ ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลคาของการนําเขาและสงออกสัตวผลิตภัณฑจากสัตวป พ.ศ. 2535

ปริมาณ มูลคา (1000 บาท) % มูลคาเพิ่ม / ลด

การนําเขา = 10,338.9 ลานบาท 1. สัตวมีชีวิต (ตัว) โค 10,279 274,880 - 68.8 กระบือ 6,817 14,111 - 53.0 2. เนื้อสัตวสด และแปรรูป โค กระบือ 1,218 100,443 + 29.3 แพะ แกะ 138 9,061 + 13.5 3. นมและผลิตภัณฑ 114,012 5,570,265 - 38.1 4. หนังสัตวสด ฟอก และแหง 105,826 3,052,904 - 34.0 5. พืชเลี้ยงสัตวปรุงรสหวาน 38,195 1,317,243 + 37.8 การสงออก = 3,761.1 ลานบาท 1. สัตวมีชีวิต โค 4,430 6,407 + 788.6 กระบือ 702 2,580 + 811.4 2. เนื้อสัตวสด 2 200 - 81.8 3. ผลิตภัณฑนม 12,115 356,689 + 16.4 4. หนังสัตวสด และแหง 7,182 3,395,261 + 31.8

ที่มา: ศูนยสถิติการเกษตร (2536) ในสภาพปจจุบันอาหารสัตวของสัตวเคี้ยวเอื้องสวนใหญไดจากอาหารขน พืชอาหารสัตว หญาธรรมชาติที่ขึ้นในพื้นที่รกรางวางเปลาและพื้นที่ขางถนน หรือไดจากเศษเหลือของพืชปลูก เชน ตอซังขาว ตนขาวโพด ขาวฟาง กากสับปะรด ยอดออย และเถามันเทศ แตมีพื้นที่เพียงเล็กนอย ซึ่งใชปลูกพืชอาหารสัตวสําหรับการเลี้ยงสัตวโดยเฉพาะ จากสภาพการผลิตโคนมและโคขุนของประเทศพบวาตนทุนของการผลิตขึ้นอยูกับอาหารสัตวถึงรอยละ 40 - 86 ซึ่งในที่นี้รอยละ 36 - 63 เปนตนทุนจากการใชอาหารขน (ตารางที่ 3) ดังนั้นหากมีการใชพืชอาหารสัตว หรืออาหารหยาบทดแทนอาหารขนใหมากขึ้น ก็จะเปนหนทางอันหนึ่งที่จะลดตนทุนการผลิตน้ํานมดิบและโคขุนลงไดอยางมาก

3

Page 4: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ตารางที่ 3 ตนทุนการผลิตน้ํานมดิบ และ โคขุน น้ํานมดิบ 1 โคขุน 2 บาท/100กก % บาท/100กก %

อาหารขน 235.53 36 334.88 63 อาหารหยาบ 91.12 14 125.56 28 คาแรง 92.01 14 23.26 4 การปองกันโรค 11.09 2 16.28 3 อื่น ๆ 39.52 6 34.88 7 ตนทุนคงที่ 191.52 29 รวมตนทุนทั้งหมด 660.79 100 534.86 100

ที่มา: 1 ขาวเศรษฐกิจ 2537, 40 (452):57 เฉลี่ยผลผลิตน้ํานมดิบ 10.27 กก./ ตัว / วัน 2 ปฐพีชล 2531, เฉลี่ยขุนนาน 6 เดือน ไดวัวขนานน้ําหนัก 430 กก. อนึ่ง ในแงของราคาไมวาจะคิดราคาตอหนวยน้ําหนัก หรือตอหนวยคุณคาทางอาหารสัตวแลว นับไดวาพืชอาหารสัตวเปนแหลงอาหารสําหรับสัตวเคี้ยวเอื้องที่มีราคาถูกที่สุด (ตารางที่ 4) ดังนั้นจึงเปนไปไดวากสิกรสามารถเพิ่มกําไรจากการผลิตสัตวโดยการใชพืชอาหารสัตว รวมกับการใชพันธุสัตวและการจัดการที่ดีเพื่อใหตนทุนการผลิตต่ําลงและผลผลิตจากสัตวสูงขึ้น 2. อาหารสัตว (Feeds) การผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องจะใหผลผลิตสูง จําเปนที่จะตองใหสัตวไดรับอาหารทั้งในดานปริมาณ และมีคุณภาพดีเพียงพอ อาหารที่ใชสําหรับสัตวเคี้ยวเอื้องแบงตามคุณภาพที่เปนประโยชนตอสัตว ไดเปนประเภทใหญ ๆ 2 ประเภท คือ 2.1 อาหารขน (concentrates) คือ อาหารที่ใหพลังงานและโปรตีนสูง มีปริมาณโภชนะที่สัตวยอยไดทั้งหมด (total digestible nutrient, TDN) สูง แตมีสารเยื่อใย (fiber) ตํ่ากวา 18% ไดแก เมล็ดธัญพืช เชน ขาวโพด ขาวฟาง ปลายขาว อาหารโปรตีน เชน กากถั่วเหลือง กากเมล็ดฝาย รํา ปลาปน 2.2 อาหารหยาบ (roughages) คืออาหารที่ใหพลังงาน มีปริมาณโภชนะที่สัตวยอยไดทั้งหมด (TDN) ตํ่า แตมีสารเยื่อใยอยูสูงกวา 18% ไดแก พืชอาหารสัตว และเศษวัสดุเหลือจากการเกษตร เชน หญาสด หญาแหง ฟางขาว ตนขาวโพด ตนขาวฟาง กากสับปะรด ยอดตนออย และยอดมันเทศ ตารางที่ 4 ราคาของพืชอาหารสัตว และอาหารขน เปรียบเทียบตอหนวยน้ําหนัก และหนวยของคุณคาทางอาหารสัตว

ชนิด ราคาตอหนวยน้ําหนัก ราคาตอหนวยคุณคาอาหารสัตว บาท/กก. บาท/กก. โปรตีน บาท/กก. TDN อาหารขน ขาวโพดปน 3.50 39.80 4.33 รําขาว 3.60 29.21 6.20 อาหารหยาบ หญาแหง 1.07 15.75 3.48 หญาสด 0.48 20.87 3.60 ตนขาวโพด 0.50 20.88 3.55 ยอดตนออย 0.35 19.44 3.21

ที่มา : ประวีร และสายัณห (2531) , TDN = Total digestible nutrient

4

Page 5: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

พืชอาหารสัตว (forage crops) จึงจัดเปนอาหารหยาบชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถปลูก และมีการจัดการที่เหมาะสมถูกตองเพื่อเพิ่มคุณคาทางอาหาร แลวนําไปใชเลี้ยงสัตว หรือปลอยใหสัตวแทะเล็มเอง ชนิดของพืชอาจจะเปนไมเนื้อออน (herbaceous plants) หรือไมพุม (shrubs) การปลูกพืชอาหารสัตวอาจจะทําการปลูกเปนแปลงใหญหรือทุงหญา (pasture) หรือปลูกเสริมรวมกับพืชหลัก (integration with crops) หรือปลูกเปนแปลงเล็ก ๆ ในพื้นที่บาน (backyard pasture) ก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม และขอจํากัดของกสิกร หญาพื้นเมือง หรือทุงหญาธรรมชาติ (native species หรือ natural pasture) ก็จัดวาเปนพืชอาหารสัตวอีกกลุมหนึ่งที่ควรไดรับการศึกษา หรือหาหนทางปรับปรุงเพื่อการพัฒนาปศุสัตวในอนาคต เพราะเปนอาหารหลักในระบบการเลี้ยงสัตวของประเทศไทยในปจจุบัน 3. พืชอาหารสัตว (Forage Crops) พืชอาหารสัตว ประกอบดวยพืชในตระกูลหญา (Poaceae หรือ Gramineae) และตระกูลถั่ว (Fabaceae หรือ Leguminosae) ซึ่งจัดเปนกลุมพืชกลุมใหญที่ประกอบดวยพืชชนิด (species) ตาง ๆ กวา 20,000 ชนิด ทําใหมนุษยสามารถเลือกใชพืชอาหารสัตวไดอยางกวางขวางตามขอจํากัดของสภาพแวดลอม และตามความตองการของมนุษยไมวาจะสรางเปนทุงหญา หรือปลูกรวมกับพืชปลูกอื่น ๆ คุณสมบัติขอดีตาง ๆ ของการใชพืช 2 ตระกูลนี้เปนพืชอาหารสัตว ไดแก

3.1 เปนตระกูลที่ประกอบดวยพืชหลายชนิด ที่แพรกระจายไปตามสภาพตาง ๆ กันทั่วโลก พืชตระกูลหญามีมากกวา 600 genera ซึ่งรวมมากกวา 10,000 ชนิด สําหรับพืชตระกูลถ่ัวมีมากกวา 200 genera รวมมากกวา 12,000 ชนิด 3.2 มีความทนทาน และปรับตัวไดดีในสภาพแวดลอมที่แตกตางกันมาก ๆ 3.3 มีความทนทานตอการตัด และการแทะเล็ม 3.4 ฟนตัว (regrowth) และขยายพันธุไดรวดเร็ว 3.5 มีอายุยาวนาน (perennial) แตยังมีคุณคาทางอาหาร และความนากินสูง เหมาะที่ใชเปนทุงหญาถาวร 3.6 คลุมดิน หรือเกาะยึดดินไดดี ชวยการปองกันการชะลางหรือพังทะลายของดินไดดีกวาพืชอื่น ๆ นอกจากนี้ยังไมจําเปนตองมีการไถพรวนบอยคร้ัง ซึ่งชวยใหสามารถใชประโยชนในการอนุรักษดินไดดี 3.7 พืชตระกูลถั่ว มีความสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได ซึ่งเปนประโยชนในการเพิ่มคุณคาทางอาหารของพืชอาหารสัตว และเปนประโยชนในการปรับปรุงบํารุงดิน 3.8 ไมตองการการดูแลรักษามากกวาพืชปลูกชนิดอื่น

พืชอาหารสัตวสามารถแบงตามสภาพภูมิอากาศที่พืชเจริญเติบโตออกเปน 2 ชนิดคือ พืชอาหารสัตวเขตหนาว (Temperate forage crops) และพืชอาหารสัตวเขตรอน (Tropical forage crops) พืชอาหารสัตวทั้งสองชนิดมีแหลงกําเนิด และลักษณะทางกายวิภาค และสรีรวิทยา ตลอดจนคุณคาทางอาหารแตกตางกัน ซึ่งหาอานรายละเอียดไดจาก Hirose et al. (1973) สําหรับเนื้อหาที่จะกลาวตอไปนี้จะเกี่ยวของกับพืชอาหารสัตวเขตรอน หรือก่ึงรอน (Subtropical forage crops) เปนสวนใหญ 4. แหลงกําเนิด การแพรกระจายและการเปนพืชปลูก (Origin, distibution and domestication) พืชอาหารสัตวเขตรอนที่ใชกันอยูในปจจุบัน สวนใหญไดมาจากการคัดเลือกและการปรับปรุงพันธุพืชธรรมชาติ อยางไรก็ตามความสําเร็จจากการปรับปรุงพันธุพืชอาหารสัตว โดยวิธีการผสมพันธุ (breeding) มีนอยมาก ยกตัวอยางเชน หญาเบอมิวดา (Cynodon dactylon cv. Coastal) หญาเนเปยร (Pennisetum purpureum x P. americanum cv. Pusa Giant) และถั่วซิราโทร (Macroptilium atropurpureum cv. Siratro). นอกจากนี้แลวสวนใหญเปนผลจากการคัดเลือก (selection) ไมวาจะโดยอิทธิพลของธรรมชาติ หรือของมนุษย อันทําใหเกิดวิวัฒนาการ (evolution) ของพืชอาหารสัตวที่สามารถเติบโตไดดีในสภาพแวดลอมเฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง (ecological niches)

5

Page 6: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

Wilsie (1962) ไดเขียนถึงผลงานของ Valvilov (1951) ซึ่งแบงแหลงกําเนิดของพืชปลูกออกเปน 8 แหลง (รูปที่ 2) แตสําหรับพืชอาหารสัตวเขตรอนแลวมีแหลงกําเนิดใหญ ๆ อยูสี่แหลง คือทวีปอัฟริกา ทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต และทวีปเอเซียตะวันออกเฉียงใต

รูปที่ 2 แหลงกําเนิดพืชปลูก (Wilsie, 1962) พืชตระกูลหญาสวนใหญถูกรวบรวมจากประเทศในแถบทวีปอัฟริกา โดยหนวยงานตาง ๆ เชน CIAT, FAO, CSIRO และ USDA แลวนําไปคัดเลือกและปรับปรุงมาเปนหญาอาหารสัตวเขตรอนที่ใชกันอยางแพรหลาย เชน Panicum maximum, Pennisetum purpureum, Digitaria decumbens, Cenchrus ciliaris, Chloris gayana, Paspalum spp., Melinis minutiflora, Setaria spp., Brachiaria spp. สวนพืชตระกูลถ่ัวซึ่งเร่ิมมีการใชเปนพืชอาหารสัตวคร้ังแรกในประเทศออสเตรเลีย ราวปคศ. 1900 สวนใหญถูกนํามาจากทวีปอเมริกาใต อัฟริกา และเอเซีย ไดแก Phaseolus, Desmodium, Macroptylium, Stylosanthes, Centrosema, Calopogonium, Peuraria, Glycine, Vigna, Trifolium, Lotononis, Alysicarpus, Canavalia, Dolichos, และ Cajanus spp. ปจจุบันไดมีการนําพันธุหญาและถั่วที่ไดรับการคัดเลือก และปรับปรุงแลวไปใชในการพัฒนาพืชอาหารสัตวตามพื้นที่ตาง ๆ ทั่วโลก โดยความรวมมือของหนวยงานระหวางประเทศตาง ๆ และหนวยงานระดับประเทศของแตละประเทศ ทําใหพืชปา (native species) ของทองถิ่นหนึ่งกลับกลายเปนพืชปลูก (cultivated species) ในเวลาตอมา โดยวิวัฒนาการธรรมชาติ และโดยฝมือของมนุษย การวิวัฒนาการของพืชจากพืชปามาเปนพืชปลูกเรียกวา Domestication การจําแนกชนิดของพืชอาหารสัตวตามสภาพภูมิอากาศแตเพียงอยางเดียว เปนเพียงวิธี การคราว ๆ สําหรับการจําแนกชนิดของพืชโดยความแตกตางกันของอุณหภูมิ แตสําหรับในเขตรอนดวยกันแลว การวิวัฒนาการและการแพรกระจายตลอดจนการเปลี่ยนปนพืชปลูก โดยอาศัยการคัดเลือกไมวาจะโดยธรรมชาติ หรือโดยมนุษยแลว ยังประกอบดวยปจจัยที่เปนตัวกําหนดทิศทางของการวิวัฒนาการ การแพรกระจาย และการเปลี่ยนเปนพืชปลูกตาง ๆ 4 ขอ คือ 4.1 สภาพปจจัยทางภูมิศาสตร เชน latitude, longitude และ altitude 4.2 สภาพปจจัยทางภูมิอากาศ เชน อุณหภูมิ ฝน ลม แสงแดด และการระเหยของน้ํา 4.3 สภาพปจจัยทางดิน ไดแก คุณสมบัติทางฟสิกส เคมี และชีวของดิน 4.4 สภาพปจจัยทางชีวภาพ ไดแก ชนิดของพืช สัตว และอิทธิพลของมนุษย ความสําเร็จของทุงหญาเลี้ยงสัตวในแงของการใหผลผลิตสูง และมีความคงทนขึ้นอยูกับความสามารถในการปรับตัวของพืชตอสภาพแวดลอม ตลอดจนการจัดการของมนุษยที่แกไขปจจัยขอจํากัดโดยวิธีการตางๆ เชน การไถพรวน การใสปุย การกําจัดวัชพืช การใหน้ําและการจัดการทุงหญาที่เหมาะสม ตารางที่ 5 แสดงตัวอยางของความสามารถปรับตัวของพืชอาหารสัตวตอสภาพแวดลอมบางอยาง

6

Page 7: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

5. การปลูกสรางทุงหญาเลี้ยงสัตว (Pasture establishment) การปลูกสราง หมายถึง การใชพื้นที่สําหรับการปลูกพืชอาหารสัตว ไมวาจะเปนชนิดชั่วคราวหรือถาวรก็แลวแต โดยที่พื้นที่นั้นไมเคยปลูกหรือใชเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวมากอน สวนการปรับปรุง (renovation) หมายถึง การทําใหทุงหญาหรือแปลงพืชอาหารสัตวที่มีอยูเดิมแลว ใหมีผลผลิตและคุณคาทางอาหารสัตวสูงขึ้น การใชพื้นที่สําหรับปลูกสรางทุงหญา ควรที่จะเริ่มศึกษาจากรายงานสํารวจ และประเมิน สมรรถนะของที่ดิน (land capability) ซึ่งกรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานหลักของประเทศที่ดําเนินงานดานนี้ขอมูลที่ไดจากการสํารวจ และประเมินสมรรถนะที่ดิน จะชวยใหทราบถึงศักยภาพและขอจํากัดของพื้นที่ อันจะเปนพื้นฐานสําหรับการวางแผนการปลูกสรางทุงหญาตอไป ขั้นตอนสําหรับการปลูกสรางทุงหญา สําหรับพื้นที่ใหม ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ คือ ตารางที่ 5 การปรับตัวของพืชอาหารสัตวเขตรอนบางชนิด (ดัดแปลงจาก Humphreys,1981) ลักษณะ หญา ถั่ว ซิกแนล ขน รูซี กินนี เนเปยร ลาย เวอราโน กระถิน 1.การเจริญเติบโต P P P P P P SLP P 2.ลักษณะตน S S S E ER T D E 3.การสืบพันธุ A A A A CF, FA CF SF SF 4.ความทนทานตอสภาพแลง

2 1 1 3 2 2 4 3

5.อุณหภูมิตํ่า 2 1 1 2 1 2 1 2 6.รมเงา 2 1 1 3 - 3 2 4 7.น้ําทวมขัง 3 5 4 3 - 3 2 1 8.ดินกรด 3 3 3 3 4 4 5 1 9.ดินมี Al สูง 5 - 6 4 - 5 5 - 10.ดินมี Mn สูง - - - - - 5 - 1 11.ดินเค็ม - - - - - 2 3 - 12.การแทะเล็ม/ตัด 5 4 4 3 3 3 5 4 (1) ลักษณะการเจริญเติบโต : A = อายุปเดียว P = อายุหลายป SLP = อายุ 2 ป (2) ลักษณะลําตน : E = ตนตรง T = เลื้อยพัน S = เลื้อยตามหนาดินโดยไหล D = ทรงพุม R = มีเหงาใตดิน (3) ลักษณะการสืบพันธุ A = ไมตองผสม FA = กึ่งไมตองผสม SF = ผสมตัวเอง CF = ผสมขาม (4) ความทนทานตอสภาพแวดลอม (4)-(12) : 1 ไมทนทาน 5 ทนทาน ไดดีมาก 5.1 การเตรียมพื้นที่ (Land clearing) คือการจัดการเพื่อลดการแขงขันจากพืชพรรณที่มีอยูเดิม และเพื่อความสะดวกในการดําเนินงานอื่น ๆ ตอไป สําหรับพื้นที่ปาหรือปาละเมาะ อาจตองใชเคร่ืองจักรกล หรือแรงคนทําการโคนไมยืนตนออกเสียกอน ในขั้นตอนของการเตรียมพื้นที่สิ่งที่ควรคํานึงก็คือ การเหลือไมยืนตนสําหรับเปนรมเงาใหแกสัตวไวเปนระยะ ๆ การเตรียมการเรื่องแหลงน้ําและการระบายน้ํา ตลอดจนการวางแผนถนน ตลอดจนการปลูกสรางสิ่งกอสรางเพิ่มเติม เชน โรงเรือนสําหรับสัตว ในกรณีที่จะใชเปนทุงหญาสําหรับปลอยใหสัตวลงแทะเล็มเอง 5.2 การเตรียมดิน (Seed bed preparation) วัตถุประสงคของการเตรียมดินคือ การลดการแขงขันจากพืชพรรณที่มีอยูเดิม และเพื่อใหเกิดโอกาสของการสัมผัสระหวางเมล็ดกับดินมากที่สุด เนื่องจากการงอกของเมล็ดพืชอาหารสัตวจะเกิดขึ้นไดตอเมื่อ เมล็ดพืชไดรับอากาศและน้ําอยางเพียงพอสําหรับขบวนการเมตะโบลิซึ่มในสวนของคัพภะ (embryo) และสําหรับการออนตัวของเปลือกหุมเมล็ด การเตรียมดินที่ดีจะชวยใหเกิดการสัมผัสระหวางเมล็ดกับดินมากขึ้น เมล็ดมีโอกาสไดรับน้ําจากความชื้นในดินไดมากขึ้น โดยทั่วไปการไถพรวนเตรียมดินสําหรับปลูกพืชอาหารสัตวตองทําถึง 2 คร้ัง คือ ไถพลิกดินดวยไถหัวหมู หรือ ผาน 4 แลวตามดวยการใช

7

Page 8: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ผาน 7 หรือจอบหมุนอีกคร้ัง อยางไรก็ตามเพื่อใหเกิดการสัมผัสระหวางเมล็ดกับดินดีขึ้น อาจจําเปนตองใชลูกกลิ่ง (roller) บดทับหลังจากการหวานเมล็ดพืชอาหารสัตวไปแลว ความสําเร็จของการเตรียมดินขึ้นอยูกับชวงเวลาที่เหมาะสม และความชื้นในดิน ตลอดจนปริมาณฝนที่ตก อันจะเปนอุปสรรคตอการทํางาน และมีผลตอการตายของพืชหรือวัชพืชที่มีอยูเดิม งานของรังสรรค (2526) และ Sukawat (1979) สามารถใชเปนเครื่องชวยในการตัดสินในเลือกชวงเวลา สําหรับการเตรียมดินเพื่อปลูกพืชอาหารสัตว และพืชทั่วไปในภาคใต และในประเทศไทยได โดยดูจากชวงเวลาที่มีโอกาส ของฝนตกนอยที่สุด นาจะเปนระยะเวลาที่เหมาะสมตอการเตรียมพื้นที่และเตรียมดิน นอกจากนี้การปลูกพืชอาหารสัตวในพื้นที่ซึ่งมีพืชอาหารสัตว หรือมีทุงหญาธรรมชาติเดิมอยูแลว ยังสามารถทําไดโดยไมตองมีการไถพรวน (no cultivation) แตมีการเตรียมดินโดยการเผาทําลาย การใชสารเคมีกําจัดพืชเดิม การใหสัตวเขาแทะเล็ม หรือการตัดเอาพืชเดิมออกไป 5.3 การเลือกชนิดของพืชอาหารสัตว (Species Selection) การเจริญเติบโตและใหผลผลิตของพืชอาหารสัตว ขึ้นอยูกับปจจัยสภาพแวดลอมที่พืชชนิดนั้นเจริญเติบโตอยู อันไดแก ภูมิอากาศ ดิน และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ดังนั้นการเลือกชนิดของพืชอาหารสัตวจึงควรที่จะทราบถึงปจจัยขอจํากัดตาง ๆ ของสภาพพื้นที่ ความตองการใชประโยชน หรือวัตถุประสงคของการปลูกพืชอาหารสัตว ตลอดจนทราบถึงความสามารถในการปรับตัวของพืชอาหารสัตวแตละชนิด Humphreys (1981) ไดรวบรวมลักษณะ และความสามารถในการปรับตัวของพืชอาหารสัตวเขตรอนไวเปนตารางงาย ๆ ซึ่งสามารถนํามาเปนขอมูลทางพืชเพื่อใชรวมกับขอมูลสภาพแวดลอมและปจจัยขอจํากัดอื่น ๆ เพื่อตัดสินใจเลือกชนิดของพืชปลูกตลอดจนเพื่อเลือกเทคนิคและวิธีการจัดการทุงหญาในโอกาศตอไป ขณะเดียวกันในระดับทองถิ่นก็มีศูนยวิจัยอาหารสัตว ของกรมปศุสัตว และมหาวิทยาลัยแตละแหงก็พยายามศึกษาหาพืชที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมขอจํากัดของแตละทองที่ เชน มหาวิทยาลัยขอนแกนมุงเนนหาชนิดของพืชอาหารสัตวที่ทนแลง และสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า และชนิดของพืชอาหารสัตวที่จะนําไปปลูกแบบสลับกับพืชไร (ley farming) มหาวิทยาลัยเชียงใหมมุงเนนหาชนิดของพืชอาหารสัตว ทนตอสภาพอุณหภูมิตํ่า และไมยืนตน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมุงเนนหาชนิดหญาสําหรับระบบโคนม สวนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ก็มุงเนนหาพืชอาหารสัตวที่เหมาะสมกับสภาพดินกรดจัด และสภาพปริมาณน้ําฝนสูง และการปลูกรวมกับไมยืนตน กรมปศุสัตวไดแนะนําพันธุพืชอาหารสัตวที่ควรใชปลูกในพื้นที่แตละภาคของประเทศไทย ตามตารางที่ 6 ซึ่งก็เปนคําแนะนําอยางกวาง ๆ สําหรับประเทศ ดังนั้นกสิกรจึงควรจะทราบถึงปจจัยและขอจํากัดตาง ๆ ของแตละสภาพทองที่กอนการเลือกชนิดพืชปลูก ในที่นี้จะขอแนะนําพืชอาหารสัตวเพียงบางชนิดที่นิยมใชและสามารถหาเมล็ดพันธุหรือทอนพันธุไดงาย สําหรับผูที่ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสนใจพืชชนิดอื่นสามารถหาอานไดจาก สายัณห (2530) และเฉลิมพล (2530) หรือ Bogdan (1977) Skerman et al. (1980) หรือ Skerman และ Riveros (1990) 5.3.1 พืชตระกูลหญา ก. หญาซิกแนล (Signal grass : Brachiaria decumbens Stapf) เปนหญาที่มีถิ่น กําเนิดในประเทศยูกันดา ทวีปอัฟริกา Mr. Hudson นําเขามาจากประเทศฮองกงเปนคร้ังแรกในปพ.ศ. 2499 แตที่นํามาใชปลูกเปนพืชอาหารสัตวอยางแพรหลายนาจะเปนในปพ.ศ. 2511 โดยองคการสงเสริมการเลี้ยงโคนมไดนําพนัธุ Basilisk จากประเทศออสเตรเลียเขามาปลูกทดลองพรอม ๆ กับหญารูซี ตารางที่ 6 ชนิดของพืชอาหารสัตวที่แนะนําใหปลูกตามภาคตาง ๆ ของประเทศโดยกรมปศุสัตว

หญา ถั่ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Cenchrus ciliaris (Buffel) Stylosanthes hamata (Verano) Cynodon dactylon (Bermuda) S. guianensis cv Graham Panicum maximum (Guinea) S. humilis (Townsville stylo) Brachiaria mutica (Para) Macroptelium atropurpureum cv. Siratro (Siratro) B. decumbens (Signal) Centrosema pubescens (Centro) Urochloa mosambicensis (Sabi) Alysicarpus vaginilis (Alyce clover)

8

Page 9: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ภาคเหนือ P. maximum cv. hamil (Hamil) S. hamata (Verano) Digitaria decumbens (Pangola) M. atropurpureum (Siratro) B. mutica (Para) C. pubescens (Centro) U. mosambicensis (Sabi) Desmodium intortum (Desmodium) Lotononis binensii (Lotononis)

ภาคกลาง B. mutica (Para) M. atropurpureum (Siratro) Chloris gayana (Rhodes) C. pubescens (Centro) Pennisetum purpureum (Napier) S. hamata (Verano)

ภาคใต B. mutica (Para) C. pubescens (Centro) P. maximum (Guinea) Pueraria phasioloides (Peuro) B. ruziziensis (Ruzi) Calopogonium mucunoides (Calopo) B. decumbens (Signal) S. hamata (Verano)

ที่มา : กรมปศุสัตว (2520)

หญาซิกแนลมีลักษณะการเจริญเติบโตแบบหลายป ลําตนเปนกอเตี้ย สูงประมาณ 30-60 ซม. มีเหงาสั้น ๆ คลายหญารูซี แตทรงพุมมีขนาดเตี้ยกวาจึงมองดูแผติดดินมากกวา ใบและลําตนมีลักษณะแข็งมากกวา ลําตนสามารถเลื้อยไปตามหนาดินและสามารถงอกรากไดตามขอที่สัมผัสกับผิวดิน ตัวใบมีสีเขียวเขม ขนาดยาว 8-10 ซม. กวาง 0.4-0.8 ซม. และไมคอยมีขน ขอบใบหยาบและคมกวาหญารูซีหรือหญาขน ชอดอกเปนแบบ panicle ที่มีชอดอกยอยแบบ spike like raceme จํานวน 2-5 ชอดอกยอย ออกดอกราวเดือนพฤศจิกายน สามารถติดเมล็ดไดปานกลาง เมล็ดมีขนาดเล็กกวาหญารูซีเลก็นอยและมักเปนหมันในลักษณะ apomixis หญาซิกแนลปรับตัวไดดีในเขตรอนชุมชื้น ทนแลงไดดีปานกลางแตไมควรมีชวงแลงติดตอกันนานเกิน 4-5 เดือน เจริญเติบโตไดดีในดินที่ราบเชิงเขาจนถึงดินที่ลาดชันมาก สามารถเจริญเติบโตและตั้งตัวไดรวดเร็วและมักขมหญาหรือถั่วอื่นหมด ทนตอการแทะเล็มและเหยียบย่ําของสัตวไดสูง ตอบสนองตอการใสปุยไนโตรเจนและใหผลผลิตสูงกวาหญาขน การปลกูใชเมล็ดอัตรา 0.5-1.0 กก.ตอไร โดยการหวานหรือโรยเปนแถว ระยะหางระหวางแถว 40 ซม. หรือปลูกดวยทอนพันธุ (stolon) ใหผลผลิตน้ําหนักแหง 1.3-2.6 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 6-10 เปอรเช็นต หญาซิกแนลมีสารบางอยางซึ่งเปนอันตรายตอแกะที่กินหญานี้เปนจํานวนมาก ๆ ข. หญาขน (Para หรือ Mauritius grass : B. mutica (Forsk) Stapf) เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดในเขตรอนของทวีปอัฟริกา และในทวีปอเมริกาใต แพรกระจายอยางกวางขวางในเขตรอนและรอนชื้นทั่วโลก Mr. R.P. Jones นํามาจากประเทศมาเลเซียเพื่อปลูกในประเทศไทยเปนคร้ังแรกในป พ.ศ. 2472 ปจจุบันกลายเปนพืชที่เจริญอยูทั่วไปในธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในที่ลุมมีน้ําทวมขังเปนบางครั้ง หญาขนเปนหญาที่มีลักษณะการเจริญเติบโตแบบหลายป มีไหลที่เจริญแผเลื้อยไปบนผิวดินและสามารถแตกรากตามขอที่ติดผิวดินไดดีและรวดเร็ว อาจเลื้อยไปไดยาว 1-3 เมตรจากตนหลัก ความสูงของทรงพุม 60-150 ซม. ตัวใบแผแบนมากกวา และมีสีเขียวออนกวาหญาซิกแนล ตัวใบมีขนาดยาว 10-30 ซม.กวาง 0.6-2 ซม. ตามขอและกาบใบมีขนสีขาวหยาบกวาหญารูซี ชอดอกแบบเดียวกับหญาซิกแนล แตมีจํานวนชอดอกยอยมากกวา และมักเกิดทั้งสองดานของกานชอดอก หญาขนไมคอยออกดอกจึงแทบจะผลิตเมล็ดไมไดเลย การขยายพันธุตองใชสวนของลําตน หรือไหล ตัดใหมีขนาดยาว 15-20 ซม. หรือ 2-3 ขอ เรียกวาทอนพันธุ (cutting)

9

Page 10: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

หญาขนชอบสภาพอากาศชุมชื้น มีฝนตกชุก สามารถเติบโตในพื้นที่ซึ่งมีน้ําทวมขังได แตก็สามารถทนแลงไดพอประมาณ หญาขนขึ้นรวมกับถั่วลายและถั่วเซอราโทรไดดี มีความนากินมากกวาหญาซิกแนลแตทนทานตอการเหยียบย่ําและแทะเล็มของสัตวไดนอยกวา การปลูกหญาขนใชทอนพันธุหวานแลวไถพรวนกลบ หรือปดดําเปนหลุมในระยะ 1-2 เมตร ในสภาพความชื้นเพียงพอหญาขนจะสามารถปกคลุมพื้นดินไดภายในเวลาประมาณ 2 เดือน ใหผลผลิต น้ําหนักแหง 0.5-5 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 3-6 เปอรเช็นต ค. หญารูซี (Ruzi หรือ Congo grass : B. ruziziensis Germain et Evrard) มีถิ่นกําเนิดในประเทศคองโก ทวีปอัฟริกา ถูกนําเขามาปลูกคร้ังแรกในประเทศไทย โดยองคการสงเสริมการเลี้ยงโคนมใน ป พ.ศ. 2511 ปจจุบันเปนพันธุหญาที่นิยมใชอยางแพรหลายที่สุด หญารูซีมีลักษณะการเจริญเติบโตแบบอายุหลายป มีเหงาสั้น ๆ อยูใตดิน ลักษณะทรงพุมคลายหญาซิกแนล แตแผคลุมดินมากกวา มีใบออนนุมและมีขนนุมมือ แตกตางกับหญาขนตรงที่ลําตนไมยืดยาว ขนาดความยาวปลองสั้นกวา และมีกาบใบยาวกวาปลอง ทําใหดูวามีใบดกมากกวา ตัวใบของหญารูซีมีขนาดยาว 10-20 ซม. กวาง 0.6-1.5 ซม. ทรงพุมสูงประมาณ 90-100 ซม. ชอดอกคลายหญาซิกแนล แตมีชอดอกยอยมากกวา (3-6 ชอดอกยอย) และมักจะโคงงอเล็กนอย หญารูซีออกดอกราวเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม ติดเมล็ดดีมาก เมล็ดมีขนาดกลางจํานวนประมาณ 270,000 เมล็ดตอกิโลกรัม มีกลีบดอกและเปลือกเมล็ดติดหุมแข็ง หญารูซีปรับตัวไดดีในเขตภูมิอากาศแบบรอนและรอนชื้น เจริญเติบโตไดดีในดินหลายชนิด แตตองมีการระบายน้ําดี เชน ดินที่ราบเชิงเขาที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูง หญารูซีสามารถปลูกรวมกับถั่วลาย ถั่วเพอโร และถั่วเวอราโนไดดี มีความนากินสูง และสัตวชอบกินหญารูซีมากกวาหญาซิกแนล การปลูกนิยมใชเมล็ดหวานหรือโรยเปนแถว ในอัตรา 1 - 2 กก.ตอไร เชนหญาซิกแนล ถาดินมีความอุดมสมบูรณดี หญารูซีจะต้ังตัวและแผคลุมผิวดินไดรวดเร็วใน 2-3 เดือน และถามีการตัดหรือแทะเล็มบอยคร้ัง หญารูซีจะเลื้อยปกคลุมผิวดินไดหนาแนน ใหผลผลิต 0.5-6 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 10-13 เปอรเช็นต ง. หญากินนี (Guinea grass : Panicum maximum Jacq.) มีถิ่นกําเนิดในเขตรอนและรอนชื้นของทวีปอัฟริกา ประกอบดวยพันธุหญาที่สําคัญ 5 พันธุคือ Common, Hamil, Gatton, Makueni และ Riversdale ซึ่งมีเพียง 2 พันธุแรกที่นิยมและแพรหลายในประเทศไทย หญากินนี (Common guinea) ถูกนําเขามาจากประเทศมาเลเซียโดยพระยาสุรวงคในปพ.ศ. 2444 และตอมาในป พ.ศ. 2472 Mr.R.P. Jones ก็ไดนําเขามาปลูกเปนพืชอาหารสัตวอีกคร้ัง หญากินนีมีลักษณะการเจริญเติบโตแบบอายุหลายป ลําตนเปนกอตั้งตรงสูง 150-240 ซม. ตนเปนมันสีเขียวเขม ตัวใบและลําตนมีขนสั้นหยาบปกคลุม ชอดอกเปนแบบ open panicle ที่แตกแขนงเปนชอดอกยอยมากมาย ออกดอกประมาณเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม ติดเมล็ดดีแตเมล็ดมีขนาดเล็กมากจํานวน 1.7-3.1 ลานเมล็ดตอกิโลกรัม นอกจากนี้ยังรวงหลนไดงายขณะใกลสุกแก ประกอบกับการมีระยะออกดอกติดเมล็ดยาวนานทําใหการผลิตเมล็ดคอนขางลําบาก เมล็ดที่ผลิตไดจึงมักมีความงอกต่ํา และมีการพักตัวสงู หญากินนีเจริญเติบโตไดดีในสภาพอากาศรอนชื้น ตองการดินที่มีความอุดมสมบูรณสูงและมีการระบายน้ําดี ทนทานตอสภาพแหงแลงไดดี นอกจากนี้ยังสามารถทนตอรมเงาไดคอนขางดี การปลูกใชเมล็ดหวานหรือโรยเปนแถวในอัตรา 0.5-1 กก.ตอไร หรือปลูกโดยการแยกกอปกดําที่ระยะปลูก 1-2 เมตร สามารถปลูกรวมกับถั่วลาย และกระถินไดดี มีความสามารถทนตอรมเงาของพืชยืนตนไดดี ตอบสนองตอการใสปุยไนโตรเจนไดสูงจึงสามารถใหผลผลิตน้ําหนักแหงไดสูงถึง 6-8 ตันตอไร มีโปรตีน 4-14 เปอรเช็นต หญาเฮมิล (Hamil guinea) เปนพันธุหญากินนีที่ไดรับการคัดเลือกในประเทศออสเตรเลียและถูกนําเขามาปลูกในประเทศไทยในป พ.ศ. 2510 โดยกรมปศุสัตว

10

Page 11: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ลักษณะทางพฤกษศาสตรทั่วไปคลายกับหญากินนี แตจะมีเหงาและมีการแตกกอดีกวา ความสูงของลําตนมากกวา (200-300 ซม.) ใบและลําตนดูหยาบกระดางกวาหญากินนี แตการออกดอกและติดเมล็ดดีกวา เมล็ดที่ไดมีขนาดใหญกวาและมีสวนของกลีบดอกหรือดอกลีบนอยกวา จึงมีเปอรเซ็นตความงอกดีกวา ลักษณะทางการเกษตรของหญาเฮมิลคลายคลึงกับหญากินนี แตมีความนากินนอยกวาโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงฤดูแลง จึงควรปลูกรวมกับถั่วลาย ถั่วเวอราโน หรือกระถิน หญากินนีสีมวง (Purple guinea ,TD58) เปนหญากินนีพันธุใหมที่ไดรับการสงเสริมมากขึ้นในปจจุบัน เนื่องจากมีความนากินสูง และผลิตเมล็ดไดงายกวาหญากินนี ลักษณะที่สําคัญของหญากินนี สีมวงคือ มีชอดอกและเมล็ดสีมวงคล้ํา และมีใบดก ออนนุมนากินกวาหญาเฮมิล หญากินนีสีมวงถูกนําเขามาประเทศไทยครั้งแรกราว ป พ.ศ. 2518 โดย กรป. กลาง จ. หญาพลิแคทตูลัม (Plicatulum grass : Paspalum plicatulum Michx) เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดบริเวณทวีปอเมริกากลางและใต แถบประเทศบราซิล แพรกระจายไดดีในทวีปอัฟริกา คุณรัตน อุณหะวงศ นําเขามาเปนครั้งแรกในปพ.ศ. 2508 และตอมาในปพ.ศ. 2518 ศูนยเกษตรภาคเหนือไดนําพันธุ Rodd's Bay จากประเทศออสเตรเลียเขามาปลูกเผยแพรเปนพืชอาหารสัตวและพืชคลุมดิน หญาพลิแคทตูลัมมีอายุการเจริญเติบโตแบบขามป ลําตนเปนกอขนาดกลางสูงประมาณ 120 ซม.ตัวใบยาว 40 ซม. กวางประมาณ 1 ซม. กาบใบหยาบมีขนเล็กนอย ชอดอกยอยเปนแบบ spike like raceme ประกอบดวยชอดอกยอย 5-15 ชอดอกยอย ในแตละชอดอกยอยมีกลุมดอกยอยเกิดเรียงเปนแถว 2 แถว ออกดอกประมาณเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคมติดเมล็ดไดดี เมล็ดที่สุกแกมีสีน้ําตาลแดง รูปรางนูนคลายหลังเตา เมล็ดมีขนาดกลางจํานวนประมาณ 780,000 เมล็ดตอกิโลกรัม หญาพลิแคทตูลัมปรับตัวไดดีในสภาพอากาศหนาวเย็นที่ไมมีน้ําคางแข็ง เจริญเติบโตไดในดินเลวที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า เปนกรดและมีน้ําขังไดดี นอกจากนี้ยังสามารถทนตอสภาพแหงแลงไดดีพอสมควร สามารถปลูกรวมกับถั่วอาหารสัตวอื่น ๆ ไดดี ใหผลผลิตปานกลางแตสัตวชอบกินนอยกวาหญากินนีหรือหญารูซี การปลูกนิยมใชเมล็ดปลูกในอัตรา 1 กก.ตอไร สามารถขึ้นรวมกับถั่วสไตโล ถั่วซิราโทรและถั่วเดสโมเดียมไดดี ใหผลผลิตน้ําหนักแหงประมาณ 1-2 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 4.6-10 เปอรเช็นต ฉ. หญาเนเปยร (Napier หรือ Elephant grass : Pennisetum purpureum Schum.) เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดในบริเวณเขตรอนของทวีปอัฟริกา Mr. R.P. Jones นําเขามาปลูกในประเทศไทยเปนคร้ังแรกในปพ.ศ. 2472 และมีการนําเขามาอีกหลายคร้ังในชวงปพ.ศ. 2504-2507 โดยกรมปศุสัตวนําพันธุลูกผสมจากประเทศอินเดียเขามาปลูก หญาเนเปยรมีลักษณะการเจริญแบบอายุหลายป มีเหงาและกออยูใตดิน ลําตนสูงใหญคลายตนออยต้ังตรงสูง 180-450 ซม. ตัวใบเปนมันมีขนหยาบปกคลุม เสนกลางใบใหญเห็นไดชัดเจน ชอดอกเปนแบบ spike ไมคอยออกดอกและไมติดเมล็ด หรือถาติดเมล็ดมักจะเปนหมันไมคอยงอก เมล็ดมีขนาดเล็กมากมีจํานวน 3 ลานเมล็ดตอกิโลกรัม หญาเนเปยรเจริญเติบโตไดดีในเขตรอนชื้น ตองการดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง มีการระบายน้ําดี ตอบสนองตอปุยไนโตรเจนดีมาก และตองการปริมาณน้ําสําหรับการเจริญเติบโตคอนขางมาก แตก็สามารถทนทานตอสภาพแหงแลงไดดี สัตวชอบกินและมีความนากินสูง การปลูกใชทอนพันธุที่มีขอ 2-3 ขอ ปกดําในระยะ 50-200 ซม. การตั้งตัวในระยะแรกชา จึงสามารถเจริญเติบโตรวมกับถั่วลาย ถั่วเดสโมเดียม ถั่วซิราโทร และถั่วสไตโลไดดี ในสภาพที่มีการจัดการที่ดีสามารถใหผลผลิตน้ําหนักแหงสูงถึง 1-10 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 4-10 เปอรเช็นต ปจจุบันมีการนําเขาพันธุหญาเนเปยรแคระ และเนเปยรลูกผสม จากประเทศญี่ปุนมาทดสอบ และคาดวานาจะไดรับการสงเสริมในเร็ว ๆ นี้ เนื่องจากมีความนากินสูง และใหผลผลิตสูง

11

Page 12: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ช. หญาซูดาน (Sudan grass : Sorghum sudanense Stapf.) เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดแถบประเทศซูดานติดตอกับอียิปต แลวนําไปปลูกแพรหลายในทวีปอเมริกา คุณละมัย อุทยานนท เปนผูนําเขามาปลูกในประเทศไทยเปนคร้ังแรกในปพ.ศ. 2497 หญาซูดานมีลักษณะการเจริญแบบอายุปเดียวหรือสองป ลําตนเปนกอตั้งสูง 200-300 ซม. แตกกอไดมาก ตัวใบสีเขียวเปนมัน ยาว 45-60 ซม. กวาง 1.5-2 ซม. กาบใบแข็งและมีขนตามขอของตน ชอดอกเปนแบบ panicle แตมีดอกยอยแนนมากกวาหญากินนี ออกดอกและติดเมล็ดดี เมล็ดสีน้ําตาลแดงมีขนาดใหญ จํานวนประมาณ 100,000 เมล็ดตอกิโลกรัม หญาซูดานทนแลงไดดี เจริญเติบโตไดดีในดินรวนทรายเปนกรดเล็กนอย ใหผลผลิตสูง แตในระยะที่กําลังเจริญเติบโตอยางรวดเร็วมักมีกรดพรัสสิค (Prussic acid) สูง ซึ่งเปนอันตรายตอสัตวได หญาซูดานเหมาะสําหรับปลูกเพื่อตัดทําหญาแหงหรือหญาหมัก ปจจุบันมีการนําเอาขาวฟางลูกผสม S. sudanense กับ S. bicolor เขามาเผยแพรเปนหญาอาหารสัตวประเภทตัดใหสัตวกินสด หรือทําหญาหมัก ปรากฏวาไดผลผลิตสูง มีความนากินและสัตวชอบกินมากกวาหญาซูดาน ญ. หญาฮิวมิดิโคลา หรือหญาซิกแนลเลื้อย (Humidicola, Koronivia grass : Brachiaria humidicola (Rendle) Schweick) เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดและแพรกระจายทางซีกตะวันออก และซีกใตของทวีป อัฟริกา ถูกนําไปใชปลูกแพรหลายในเขตรอนแถบประเทศเอเซียตะวันตกเฉียงใต และแปซิฟก ราว 20 - 30 ปมาแลว นําเขามาในประเทศไทยครั้งแรกโดยกองอาหารสัตว กรมปศุสัตว ราวป พ.ศ. 2528 ลักษณะการเจริญแบบหลายป ทรงตนเปนแบบเลื้อยแผคลุมดิน มีไหลและเหงาที่แข็งแรงและปกคลุมดินอยางแนนหนา สูง 50 - 70 ซม. ไหลอวบน้ําแตแข็ง มีสีแดง ลําตนที่มีชอดอกอาจยืดยาวสูงถึง 1 ม. ใบเรียวยาวคลายหอก (lanceolate) กวาง 3 - 10 มม. ยาว 4 - 30 ซม. ขอบใบหยาบเปนหยัก (glabrous) ชอดอกประกอบดวยชอดอกยอยแบบ raceme 2 - 5 ชอ เกิดบนแกนชอดอกที่ยาว 2 - 13 ซม. แตละชอดอกยาว 2 - 7 ซม. และมีกลุมดอกยอยเกิดเรียงเปน 2 แถว รูปรางของกลุมดอกยอยเรียวยาว 4 - 6 มม. มีขนเล็กนอย กลีบดอกลางของกลุมดอกยอยยาว สองในสาม หรือเทากับกลุมดอกยอย และมีเสนนูน (nerved) 11 เสน กลีบดอกดานบน (upper glume) มีเสนนูน 5 - 9 เสน และปกคลุมดวยขน สวนกลีบดอกลางมีเสนนูน 5 เสน ลักษณะทั่วไปของหญาฮิวมิดิโคลาจะคลายกับหญา B. dictyneura แตจะเติบโตหนาแนนกวา สายพันธุของหญาฮิวมิดิโคลาที่มี ไดแก พันธุ Tully จากออสเตรเลีย และ INIAP-701 จากเอควาดอร การเจริญของเมล็ดเปนแบบ apomictic การปลูกในที่สูง สามารถผลิตเมล็ดไดสูงถึง 20 - 30 กก. ตอไร แตเมื่อแปลงหญาตั้งตัวไดดีแลวกลับพบวาการออกดอกและติดเมล็ดนอยลดลง หญาฮิวมิดิโคลาปรับตัวไดดีในเขตรอนชื้น แตก็สามารถทนทานตอสภาพแหงแลงนาน 3 - 4 เดือนได สามารถขึ้นไดดีในดินหลายชนิด แมกระทั่งดินที่มีน้ําทวมขัง หรือดินที่มีการระบายน้ําเลว ทนตอสภาพดินกรดที่มีอะลูมิเนียมสูง และสามารถเติบโตไดในดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า นอกจากนี้ยังสามารถเจริญเติบโตไดดีในสภาพรมเงาของพืชยืนตนเชน มะพราว ยางพารา และสามารถทนทานตอการระบายน้ําเลว หรือสภาพน้ําทวมขังไดดี หญาฮิวมิดิโคลาเหมาะสําหรับปลูกเปนทุงหญาเพื่อใหสัตวลงแทะเล็ม และเพื่อการปองกันควบคุมการพังทะลายของดิน แตการเจริญเติบโตในระยะแรกคอนขางชา ตองการระยะตั้งตัวนานกวา 4 - 5 เดือน การปลูกใชเมล็ดปลูกในอัตรา 0.3 - 1 กก. ตอไร หรือปลูกดวยไหลหรือทอนพันธุ ดวยระยะปลูก 1x1 เมตร หลังปลูก 4 - 5 เดือนจะสามารถครอบคลุมไดเต็มพื้นที่ และปลอยใหสัตวลงแทะเล็มได เนื่องจากการครอบคลุมพื้นที่ดีจึงไมคอยปรากฎวัชพืชขึ้นรบกวน แตถั่วอาหารสัตวบางชนิดเชน Arachis pintoi และ Desmodium heterocarpon อาจสามารถทนทานและขึ้นรวมไดดี หญาฮิวมิดิโคลาใหผลผลิต 1 - 5 ตัน ตอไร มีความนากินสูง แตมักมีโปรตีนต่ํา (0.6 - 1.0 %N) จึงอาจมีขอเสียคือการกินของสัตว (intake) จะต่ํา ความสามารถยอยไดของหญาชนิดนี้มีคาระหวาง 50 - 70 เปอรเช็นต การใชแปลงหญาฮิวมิดิโคลาเลี้ยงสัตวอาจไดการเจริญเติบโตของสัตวตํ่า 150 - 500 กรัมตอตัวตอวัน แตผลผลิตสัตวตอพื้นที่อาจสูงไดดวยการเพิ่มอัตราสัตว นอกจากนี้หญาฮิวมิดิโคลายังเหมาะที่จะใชทําหญาแหงไดดี 5.3.2 พืชตระกูลถ่ัว ก. ถั่วลาย (Centro : Centrosema pubescens Benth.) เปนถั่วที่มีถิ่นกําเนิดบริเวณเขตรอนของอเมริกาใต นําเขามาปลูกเปนพืชคลุมดินในสวนยางพารา เมื่อพ.ศ. 2498 โดย Mr. Kuma มีลักษณะการเจริญแบบหลายป ลําตนเปนเถาเลื้อยตามผิวดินหรือ

12

Page 13: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

เกี่ยวพันขึ้นคาง ใบเปนใบประกอบแบบ trifoliate leaf ชอดอกเปนแบบ raceme มีดอก 3-5 ดอกมีสีมวง ฝกรูปรางแบนยาว 4-17 ซม. มีเมล็ดประมาณ 15-20 เมล็ด เมล็ดมีขนาดใหญประมาณ 30,000-40,000 เมล็ดตอกิโลกรัม ฝกเริ่มแกประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ การปลูกใชเมล็ดหวานหรือโรยเปนแถวในอัตรา 0.5-1 กก.ตอไร ควรแกการพักตัวของเมล็ดดวยการแชเมล็ดในน้ํารอน 80 ํซ. นานประมาณ 5 นาที และควรคลุกเมล็ดดวยเชื้อไรโซเบียมที่เฉพาะเจาะจงตอชนิดของถั่วลาย ตองการธาตุฟอสฟอรัสสําหรับการตั้งตัวสูง โดยเฉพาะในระยะแรกของการเจริญเติบโตสามารถเจริญเติบโตรวมกับหญาขน หญากินนี หญาเนเปยร และหญาซีตาเรียไดดี เจริญ เติบโตไดดีในที่มีความชื้นสูง แตก็สามารถทนตอสภาพแหงแลงไดดีพอสมควร ไมสามารถทนตอสภาพอากาศหนาวเย็น สามารถตรึงไนโตรเจนไดสูง และใหโปรตีนเฉลี่ย 10-23 เปอรเซ็นต พันธุถั่วลายที่นิยมใชคือพันธุ Common และพันธุ Belato ปจจุบันมีการนําพันธุถั่วลายใหมเขามาปลูก ไดแกพันธุคาวาลเคด Centrosema pascuorum cv Cavalcade ข. ถั่วเวอราโนหรือถั่วฮามาตา (Verano : Stylosanthes hamata cv. Verano (L.) Taub.) เปนถั่วที่มีถิ่นกําเนิดในเขตรอนของทวีปอเมริกาใต นําเขามาปลูกในประเทศไทยที่มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อ ปพ.ศ.2514 โดย Mr. Shelton มีลักษณะการเจริญเติบโตแบบ 2 ป ลําตนเปนพุมเตี้ยสูง 0.5 - 0.7 ม. แตกกิ่งกานสาขาไดมาก ใบเปนใบประกอบแบบ trifoliate leaf ดอกมีสีเหลือง เร่ิมออกดอกตั้งแตเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม ฝกมีขอ (hook) โคงงอที่ปลาย ผลิตเมล็ดไดมากแตจะรวงหลนเมื่อสุกแก เมล็ดมีขนาดเล็กจํานวนประมาณ 450,000 เมลด็ตอกิโลกรัม การปลูกใชเมล็ดในอัตรา 0.5-1 กก.ตอไร และควรแกการพักตัวดวยการแชน้ํารอน ตลอดจนควรคลุกเชื้อไรโซเบียมเชนกัน ตอบสนองตอปุยฟอสฟอรัสสูง สามารถเจริญเติบโตรวมกับหญากินนี และหญาซีตาเรียไดดี แตไมทนตอสภาพรมเงาของพืชอื่น ถั่วเวอราโนขึ้นไดดีในดินหลายชนิดที่ไมมีน้ําทวมขัง ทนทานตอการแทะเล็มที่รุนแรงและสภาพแหงแลงไดดีมาก มีความนากินปานกลาง ปจจุบันเปนพันธุถั่วอาหารสัตวที่กรมปศุสัตวสงเสริมใหกสิกรปลูกเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ และใชแจกจายแกผูเลี้ยงสัตว ตลอดจนใชหวานในทุงหญาเลี้ยงสัตวเพื่อการปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตพืชอาหารสัตวมากที่สุด ค. กระถนิ (Leucaena : Leucaena leucocephala de Wit.) เปนถั่วยืนตนอายุหลายปมีถิ่นกําเนิดในประเทศเม็กซิโก เปรู แพรกระจายอยางกวางขวางในเขตรอน พระวินิจวนันดรนําเขามาจากประเทศอินเดียเพื่อปลูกในประเทศไทยราวป พ.ศ. 2482 แตเชื่อกันวานาจะมีการนําเขามาปลูกในประเทศไทยตั้งแตสมัยกอนกรุงศรีอยุธยา กระถินมีลําตนเปนไมพุมสูงถึง 20 เมตร ใบเปนใบประกอบแบบ bipinnate ประกอบดวยใบยอยขนาดเล็ก ดอกเกิดรวมกันเปนกลุมเปนชอดอกแบบ head มีสีเหลืองนวล ฝกมีรูปรางแบนยาวมีเมล็ด 15-30 เมล็ด เมล็ดมีสีน้ําตาลรูปรางรีปลายแหลม ขนาดประมาณ 24,000 เมล็ดตอกิโลกรัม การปลูกใชเมล็ดในอัตรา 2 กก.ตอไร โดยโรยปลูกเปนแถวระยะ 60-120 ซม. กอนปลูก ควรแชน้ํารอนและคลุกเชื้อไรโซเบียมที่เฉพาะเจาะจงกับกระถิน การปลูกกระถินอาจจะปลูก เดี่ยว ๆ ทั้งแปลง แลวตัดใบกระถินไปใหสัตวกิน หรือปลูกเปนแถวที่ระยะปลูก 5-8 ม. ในแปลงทุงหญา เชน หญาขน หญากินนี กระถินสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า สภาพดินเปนกรดเล็กนอย หรือสภาพแหงแลง แตไมชอบสภาพน้ําทวมขังหรือสภาพดินมีการระบายน้ําไมดี การปลูกกระถินแบบเดี่ยว ๆ สามารถใหผลผลิตน้ําหนักแหง 0.5-3 ตันตอไร มีโปรตีนเฉลี่ย 23-29 เปอรเซ็นต ปจจุบันมีเพลี้ยไกฟากระถิน (Psyllid : Heteropsylla cubana Crawford) ทําลายดูดกินน้ําเลี้ยงจากยอดออน ระบาดรุนแรงไปทั่วโลก ทําใหการเจริญเติบโตของกระถินลดลงอยางมาก และเปนปญหาที่ยังแกไขไมได ญ. ถั่วพินตอย (Pintoi; Arachis pintoi Krap & Greg.) เปนถั่วที่มีถิ่นกําเนิดแถบลุมแมน้ําเซนทฟรานซีสโก และโทแคนทินส ตอนกลางของประเทศบราซิล แลวถูกนําไปพัฒนาในประเทศออสเตรเลีย อเมริกา และโคลัมเบีย ลักษณะการเจริญเติบโตของถั่วพินตอยเปนพืชอายุหลายป มีไหลเลื้อยแผออกจากตนหลัก (crown) รากเปนระบบรากแกว มีปมขนาดเล็กเกิดทั้งบนรากแกวและรากแขนง ลําตนแผนอนอาจสูงประมาณ 20 ซม. ขึ้นปกคลุมดินหนาแนน ใบเปนใบประกอบมีใบยอย 4 ใบ ขอบใบเรียบ มีขนออน ใบยอยเปนรูปไขหรือยาวรี ปลายมนทู และสอบเล็กนอยเขาหาโคนใบ ใบยอยมีขนาด 4.5x3.5 ซม. หรือเล็ก

13

Page 14: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

กวาถาถูกตัดบอยคร้ัง ดานบนของตัวใบมีสีเขียวเขมกวาดานลาง บางครั้งใบอาจจะมีลายดาง ดอกเกิดเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ มีกานดอกสั้น รูปรางดอกคลายดอกถั่วลิสง แตมีขนาดเล็กกวา กวาง 12 - 17 มม. ดอกมีสีเหลือง ฝกรูปรางเหลี่ยม กวาง 10 - 14 x 6 - 8 มม. ฝกเกิดคลายถั่วลิสงคือเปนเข็มแทงลงดินหลังการผสมเกสร โดยมากฝกมีเมล็ดเดียว เมล็ดมีสีน้ําตาลออน ขนาด 6 - 8 กรัม ตนกลาของถั่วพินตอยงอกแบบ epigeal สามารถเจริญอยางรวดเร็วและครอบคลุมพื้นที่ไดภายใน 6 เดือน หลังการงอก 3 - 4 สัปดาหจะเริ่มออกดอก และเกิดตอเนื่องกันไปตลอดฤดู โดยเฉพาะอยางยิ่งในฤดูฝน หรือหลังการใหน้ํา ไขจะพัฒนาเปนเมล็ดอยูบนเข็ม (gynophore) ที่จะยืดตัวออกหลังการผสมเกสร และแทงลงดินอาจลึกถึง 7 ซม. ถั่วพินตอยเจริญเติบโตไดดีในเขตรอนชื้น ที่มีฝน 1800 - 2000 มม. เติบโตไดดีในที่ลุมแฉะ หรือมีน้ําทวมขังในฤดูฝน สามารถเติบโตไดในดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า ต้ังแตดินทรายจนถึงดินเหนียว pH ตํ่าหรือเปนกลาง ทนตอความเปนพิษของมังกานีสและอลูมิเนียม และสภาพรมเงา เมล็ดถั่วพินตอยมีการพักตัวสูง การตากแดดที่อุณหภูมิ 35 - 40o ซ. นาน 10 วันสามารถลดการพักตัวไดดี กอนการปลูกควรคลุก Bradyrhizobium ที่เหมาะสม และควรหยอดลึก 2 - 6 ซม. ใชอัตราปลูก 2 - 2.5 กก. ตอไร นอกจากนี้สามารถปลูกดวยการใชทอนพันธุจากสวนของไหล ถั่วพินตอยทนรมเงาไดดี จึงสามารถปลูกรวมกับหญาไดหลายชนิด และทนตอการแทะเล็มอยางรุนแรงไดดี มีคุณคาทางอาหารสูง มีไนโตรเจน 2.5 - 3.0 เปอรเซ็นต ฟอสฟอรัส 0.18 - 0.37 เปอรเซ็นต และมีความสามารถยอยได 60 - 70 เปอรเซ็นต พันธุถั่วพินตอยที่มีในปจจุบัน คือพันธุ Amarillo ใหผลผลิต 0.8 - 1 ตันตอไร และใหเมล็ด 0.3 - 0.6 กก. ตอไร ขณะนี้ CIAT กําลังทําการทดสอบสายพันธุอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพดินกรด และสภาพรมเงา หญาและถั่วท่ีนาสนใจชนิดใหม

กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว และมหาวิทยาลัยตาง ๆ เชนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และบริษัทเอกชน ไดมีการวิจัยและพัฒนาโดยความรวมมือของตางประเทศ เชน CSIRO CIAT และในประเทศเชน สกว. ไดนําพันธุหญาและถั่วหลายชนิดเขามาทดสอบ ซึ่งพบวามีหลายชนิดที่สามารถปรับตัวไดดีกับสภาพแวดลอมของประเทศไทย และสามารถขยายพันธุไดดี จึงไดมีการสงเสริมแนะนํามากขึ้นเปนลําดับไดแก หญาอุบลพาสพาลั่ม หรือหญาอะตราตัม (Paspalun atratum) หญาแพงโกลา (Digitaria decumbens) ถั่วทาพระสไตโล (Stylosanthes guianensis CIAT 184) ถั่วคาวาลเคด (Centrosema pascuorum cv. Cavalcade) และถั่วไมยรา (Desmanthus virgatus) หญาและถั่วเหลานี้กําลังไดรับความนิยมจากเกษตรกรเพิ่มมากขึ้นเปนลําดับ

5.4 การเตรียมวัสดุปลูก (Planting material) พืชอาหารสัตวสามารถปลูกไดดวยเมล็ดพันธุ (seed) และดวยสวนของลําตนหรือทอนพันธุ(vegetative materials) สําหรับพืชอาหารสัตวบางชนิดซึ่งไมคอยติดเมล็ด ไดแก หญาแพงโกลา (Digitaria decumbens) หญาเนเปยร (Pennisetum purpureum) หญาขน (Brachiaria mutica) หญาเบอรมิวดา (Cynodon dactylon) และถั่วเดสโมเดียม (Desmodium heterocarpon) สามารถปลูกดวยสวนของไหล หรือสวนลําตนเหนือดินโดยการตัดใหมีขออยางนอย 2 - 3 ขอหรือมีขนาดยาว 15-30 เซนติเมตร เมล็ดพันธุเปนสวนที่นิยมใชปลูกมากกวาสวนของลําตน เพราะสะดวกกวา และสามารถหาจํานวนมาก ๆ เพื่อใชสําหรับการปลูกในพื้นที่กวาง ๆ ไดงายกวา แตอยางไรก็ตามวัสดุปลูกที่ดีไมวาจะเปนเมล็ดหรือสวนของทอนพันธุ ควรจะมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 5.4.1 ความมีชีวิต (Viability) คือ คุณสมบัติที่จะสามารถงอกเปนตนออนไดเมื่อไดรับความชื้น อุณหภูมิ และอากาศที่เหมาะสม ในทางปฏิบัติสามารถทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดอยางคราว ๆ ไดโดยการเพาะเมล็ดเพื่อทดสอบความงอก (germination test) 5.4.2 ปราศจากสิ่งเจือปน (Free from contamination) คือ ไมมีสิ่งอื่น เชน ผง เศษฟาง ระแง เปลือก ดอกลีบ หรือดิน หิน ตลอดจนเมล็ดพืชอื่นเจือปนอยูในเมล็ดพันธุ 5.4.3 ความเร็วในการงอกและใหตนออนที่แข็งแรง (Rapid germination and vigor seedling) คือ ความสามารถของเมล็ดที่จะใหการงอกเปนตนออนไดรวดเร็ว และแข็งแรง ซึ่งจะชวยสงเสริมการตั้งตัวของพืชอาหารสัตวไดเร็วขึ้น สามารถแขงขันกับวัชพืชไดดี

14

Page 15: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

5.4.4 ปราศจากโรคแมลง (Quarantine seed) โรค หรือแมลงที่ติดมากับเมล็ดสามารถ กอปญหาแกแปลงพืชอาหารสัตวในระยะเวลาตอมาได ตัวอยางที่ชัดเจนไดแกการแพรระบาดของโรคแอนแทรคโนสกับถั่วทาวสวิลลไตโล (Stylosanthes humilis) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อ ประมาณ 20 ปที่ผานมา ทําใหไมสามารถปลูกทาวสวิลลไตโลในแหลงนั้นไปไดอีกเปนเวลานาน ทั้งนี้เพราะโรคที่ติดมากับเมล็ด (seed borne disease) การทราบแหลงที่มา (seed origin) จะชวยใหทราบถึงโอกาสของการติดมากับเมล็ดของโรคหรือแมลงได ดังนั้นจึงไมควรนําเมล็ดพันธุจากแหลงที่มีโรคหรือแมลงศัตรูรายแรงระบาดมาใชปลูก สําหรับในประเทศไทย ปจจุบันมีหนวยงานที่ทําการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอยู 2 หนวย งานคือ กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว และ กรป.กลาง กองบัญชาการทหารสูงสุด ซึ่งมีสถานีผลิตเมล็ดพันธุหญาและถั่วอาหารสัตวกระจายอยูตามสถานีและศูนยตาง ๆ ทั่วประเทศ โดยประมาณวาสามารถผลิตเมล็ดพันธุหญารูซี่และถั่วเวอราโนเปนสวนใหญไดประมาณปละ 167 และ 290 ตันตามลําดับ แตก็ยังเปนปริมาณที่ยังไมเพียงพอสําหรับความตองการในแตละป ลักษณะเดนของเมล็ดพืชอาหารสัตวอยางหนึ่งคือ การพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) ซึ่งมีสาเหตุจากลักษณะทางสรีรวิทยา หรือลักษณะทางกายภาพของเมล็ด ลักษณะนี้ทําใหเมล็ดพืชอาหารสัตวไมงอก ถึงแมจะไดรับสภาพแวดลอม คือ ความชื้น อุณหภูมิ และอากาศที่เหมาะสมก็ตาม การพักตัวทางสรีรวิทยาของเมล็ด (physiological dormancy) มักเกิดกับหญาอาหารสัตวหลายชนิด ทั้งนี้เพราะคัพภะภายในเมล็ดยังเจริญเติบโตไมเต็มที่ หรืออาจมีสารยับยั้งบางชนิดอยูในคัพภะของเมล็ด เมล็ดที่มีการพักตัวแบบนี้ตองการระยะเวลาหนึ่งสําหรับการเจริญเติบโตตอไปของคัพภะ หรือสําหรับการลดลงของสารยับยั้งการเจริญเติบโตของเมล็ด การเก็บรักษาเมล็ดไว 3 - 4 เดือนจะชวยลดการพักตัวชนิดนี้ของเมล็ดพันธุได การพักตัวทางกายภาพของเมล็ด (physical dormancy) มักเกิดกับถั่วอาหารสัตวสวนใหญ ทั้งนี้เนื่องจากการมีเปลือกหุมเมล็ดที่แข็ง หรือยอมใหน้ําและอากาศซึมผานไดนอย ลักษณะการพักตัวแบบนี้สามารถแกไขไดโดยวิธีการตาง ๆ เชน การขัดสี การตัด หรือการแกะเปลือกหุมเมล็ดออก และการใชน้ํารอน หรือกรดเขมขนเพื่อกัดสวนเปลือกหุมเมล็ด (scarification) ในทางปฏิบัตินิยมใชการลวกน้ํารอน 70-80 ํซ. เปนเวลานาน 2-10 นาที เพราะปลอดภัยและประหยัดกวา 5.5 การคลุกเมล็ดพันธุถั่วอาหารสัตวดวยไรโ:เบียม (Rhizobium inoculation) ประสิทธิภาพของถั่วและไรโซเบียมในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศใหกลายเปนโปรตีนในปมและตนถั่วนั้นขึ้นอยูกับความเหมาะสมของชนิดไรโซเบียมที่ใช การคลุกเมล็ดถั่วอาหารสัตวดวย ไรโซเบียมจะชวยเรงการตั้งตัว และการเจริญเติบโตหลังการงอกจากเมล็ดถั่ว ซึ่งก็จะสงผลใหผลผลิตของพืชอาหารสัตวในแปลงเพิ่มขึ้น ทั้งในแงของการเพิ่มคุณคาทางอาหาร และการเพิ่มผลผลิตพืชตระกูลหญาที่ปลูกรวมกัน สําหรับในพื้นที่ซึ่งไมเคยปลูกถั่วอาหารสัตวชนิดนั้น ๆ มากอนเลย ควรคลุกเมล็ดพันธุดวยเชื้อไรโซเบียมที่ถูกตองกับชนิดของถั่วนั้น ๆ ถึงแมวาในสภาพธรรมชาติอาจจะมีไรโซเบียมธรรมชาติเจริญอยูก็ตาม ในประเทศไทยเองมีหนวยงานไรโซเบียม สาขาจุลินทรียดิน กรมวิชาการเกษตรซึ่งมีหนาที่ผลิตและวิจัยเกี่ยวกับไรโซเบียมสําหรับพืชตระกูลถ่ัว สามารถผลิตไรโซเบียมในรูปของผง (peat) สําหรับพืชอาหารสัตวเขตรอนไดหลายชนิด วิธีการคลุกเชื้อไรโซเบียมสามารถทําไดโดยการทําใหเมล็ดเปยกดวยน้ํา หรือน้ําแปงเปยก แลวจึงคลุกดวยผงไรโซเบียมในอัตรา 1 กิโลกรัมของไรโซเบียมตอเมล็ด 10-15 กิโลกรัม แลวผ่ึงในที่รมใหแหงกอนนําไปปลูก หรือนําไปปลูกเลยทันที โดยระวังอยาใหไรโซเบียมถูกแสงแดดจัดโดยตรง การตรึงไนโตรเจนของไรโซเบียมและถั่วอาหารสัตวจะมีประสิทธิภาพดีสมบูรณตอเมื่อมีขั้นตอนตาง ๆ ครบและสมบูรณคือ การเขาไปในเซลลรากของเชื้อไรโซเบียม (infection) การเกิดปมที่รากถั่ว (nodulation) และการรวมกันตรึงไนโตรเจนจากอากาศโดยไรโซเบียมที่ปมกับพืชตระกูลถ่ัว (symbiosis N2 fixation) 5.6 ฤดูกาลที่เหมาะสมในการปลูก เมล็ดพืชอาหารสัตวจะสามารถงอก และเติบโตไดดีตองอาศัยความชื้นในปริมาณที่เพียงพอ ดังนั้นฤดูกาลที่เหมาะสม สําหรับปลูกพืชอาหารสัตวจึงควรเปนตนฤดูฝน หรืออาจกลาวไดวาในประเทศไทย สามารถปลูกพืชอาหารสัตวไดระหวางเดือนพฤษภาคม ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 5.7 วิธีการปลูก (Sowing practice) การปลูกพืชอาหารสัตวไมวาจะดวยเมล็ด หรือสวนของทอนพันธุ สามารถทําได 3 วิธี คือ การหวาน (broadcasting) การปลูกเปนแถว (band seeding) และ การปลูกเปนหลุม (hill seeding) โดยอาจจะใชแรงงานคน หรือเคร่ืองจักรกลก็ไดแลวแตความเหมาะสม แตเพื่อปองกันความลมเหลวในการปลูกพืชอาหารสัตว จําเปนตองพิจารณาถึงสิ่งตอไปนี้คือ

15

Page 16: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

5.7.1 เวลา หรือฤดูกาลที่เหมาะสม 5.7.2 การเตรียมแปลงปลูกที่ดี 5.7.3 เมล็ดพันธุที่ดี 5.7.4 อัตราปลูกที่เหมาะสม 5.7.5 ความลึก หรือโอกาสเกิด seed soil contact สําหรับหัวขอ 3 หัวขอแรกไดกลาวมาแลวในตอนตน สวนอัตราปลูกนั้น โดยทั่วไปแนะนํา อัตราปลูกประมาณ 1-2 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้ตองคํานึงถึงคุณภาพของเมล็ดพันธุดวย แตอยางไรก็ตามการใชอัตราปลูกสูง ก็มีโอกาสที่ใหแปลงพืชอาหารสัตวต้ังตัวไดรวดเร็ว ลดการแขงขันจากวัชพืช และสามารถใหผลผลิตสูงในปแรก ๆ ได ความลึกในการปลูกพืชอาหารสัตวควรอยูระหวาง 0-1 เซนติเมตร แลวแตขนาดของเมล็ดพันธุ หรือใชลูกกลิ้งบดทับภายหลังการหวาน หรือการหยอดเมล็ดลงไปแลว การปลูกแบบเปนแถว หรือเปนหลุมควรใชระยะปลูก 70-90 x 30 เซนติเมตร แตถาหากมีเมล็ดหรือทอนพัธุจํากัด การปลูกในระยะที่กวางกวานี้ก็อาจทําได โดยเฉพาะพืชอาหารสัตวชนิดที่มีการเจริญเติบโตแบบเถาเลื้อย ทั้งนี้กสิกรตองสามารถทําการปองกันกําจัดวัชพืชในระยะตนไดดีเพียงพอ 5.8 การเตรียมแปลงกลา (Nursery preparation) การเตรียมแปลงกลาสําหรับพืชอาหารสัตวที่ตองปลูกดวยสวนของลําตน เชนหญาขน หญาเนเปยร หญาแพงโกลา เปนเร่ืองที่ตองเตรียมการไวกอนลวงหนาในกรณีที่จะปลูกสรางทุงหญาเปนพื้นที่ขนาดใหญ แปลงกลาจะมีลักษณะเหมือนแปลงหญาทั่วไป แตจะปลอยใหหญาตั้งตัวกอนประมาณ 4-6 เดือน แลวตัดสวนของลําตนไปใชเปนทอนพันธุสําหรับปลูกในแปลงปลูกจริง แปลงกลาขนาด 1 ไร จะสามารถนําไปขยายพันธุในแปลงปลูกจริงไดประมาณ 8-10 ไร หรืออาจจะมากกวา ทั้งนี้แลวแตระยะวิธีการปลูก และการเจริญเติบโตของตนกลา 6. ความอุดมสมบูรณของดิน และการใชปุยสําหรับพืชอาหารสัตว (Soil fertility and fertilizer used) ในการจําแนกพื้นที่เพื่อการใชประโยชนเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว โดยมักจะเปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า นอกจากนี้แลวสภาพของดินในเขตรอนซึ่งมีการชะลางสูง ก็มักจะเปนที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า หรือขาดธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ไนโตรเจน และซัลเฟอร ดังนั้นไมวาจะมีการปลูกสรางพืชอาหารสัตวในพื้นที่ใดจึงควรที่จะประเมินความอุดมสมบูรณ และความตองการธาตุอาหารสําหรับชนิดของพืชอาหารสัตวที่จะปลูกเสียกอน วิธีการทําไดโดย การวิเคราะหดิน (soil analysis) การทดลองในกระถาง (omission pot trial) และการทดลองอัตราปุยในกระถางและในแปลงปลูก (rate trial) รายละเอียดของเทคนิคและวิธีการตาง ๆ สําหรับพืชอาหารสัตวเขตรอนดูไดจาก Whiteman (1980) ผลจากการทดลองขางตนจะทําใหทราบชนิด และปริมาณของธาตุอาหารที่จะเปนปจจัยจํากัดการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตของพืชอาหารสัตวในแปลงปลูก ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองแกไขโดยการใสปุยรองพื้น (basal application) กอนปลูก โดยทั่วไปแมปุยหลักสําหรับพืชอาหารสัตว ไดแก ยูเรีย แอมโมเนียมซัลเฟต ซุปเปอรฟอสเฟต รอคฟอสเฟต และโปแตสเซียมคลอไรด เปนปุยที่สามารถหาซื้อไดในประเทศในรูปแบบและสูตรตาง ๆ กัน แลวแตชนิด และบริษัทผูผลิตออกจําหนาย กรมปศุสัตวไดแนะนําอัตราปุยอยางกวาง ๆ สําหรับพืชอาหารสัตว คือ ไนโตรเจน 50 กก.ตอไร ฟอสฟอรัส 20-40 กก.ตอไร โปรแตสเซียม 30 กก.ตอไร ซัลเฟอร 10 กก.ตอไร และในพื้นที่ซึ่ง pH ของดินเปนกรด ควรใชปูนขาว 80 กก.ตอไร อยางไรก็ตาม การทดลองโดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Nilnond et al., 1986) ไดชี้ใหเห็นวาดินแตละชนิดในภาคใตของประเทศนั้น ขาดธาตุอาหาร และตองการปริมาณธาตุอาหารสําหรับการเจริญเติบโตของพืชในอัตราที่แตกตางกัน นอกจากนี้หลังการตัดหรือการใหสัตวใชประโยชนจากแปลงหญาแลว ในแตละปควรมีการใสปุยแตงหนา (top dress) สําหรับอัตราของการใสปุยในแตละปนั้นขึ้นอยูกับระบบและความรุนแรงของการใชแปลงหญา ความอุดมสมบูรณของดิน การบํารุงรักษาดินของถั่วอาหารสัตว ตลอดจนผลของการวิเคราะหดินและพืช 7. การใชประโยชนจากทุงหญา (Utilization)

16

Page 17: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

แปลงพืชอาหารสัตวจะใชระยะเวลาตั้งตัวอยางนอย 2 - 6 เดือนภายหลังจากการปลูก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสมบูรณของพืชอาหารสัตวที่ปลูก จากนั้นก็เร่ิมใชประโยชนจากแปลงพืชอาหารสัตวได แตสําหรับแปลงพืชอาหารสัตวแบบถาวร (permanent pasture) ควรรอใหตนพืชติดเมล็ดรุนแรกและรวงหลนไปแลวบางสวนเสียกอน เพื่อใหเมล็ดเหลานี้เปนแหลงสํารอง (seed soil reserved) เพื่อการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นในปตอ ๆ ไป สําหรับการใชประโยชนจากแปลงพืชอาหารสัตว อาจทําไดโดย 7.1 การตัดใหสัตวกินสด (zero grazing หรือ green cut) หมายถึงการตัดพืชอาหารสัตวที่มีไปใหสัตวกินในคอกหรือกรงเลี้ยง วิธีนี้เหมาะสําหรับแปลงขนาดเล็ก กสิกรมีแรงงานพอ และการเลี้ยงโคนมในระยะใหนม 7.2 การปลอยใหสัตวแทะเล็ม (grazing) หมายถึง การปลอยใหสัตวลงเลือกกินพืชอาหารสัตวในแปลงเอง วิธีการนี้เหมาะสําหรับแปลงขนาดใหญ จํานวนสัตวเลี้ยงมาก และการเลี้ยงโคขุน หรือโคนมในระยะไมใหน้ํานม 7.3 การตัดไปทําหญาแหง (hay) หมายถึง การตัดพืชอาหารสัตวในแปลงแลวปลอยใหแหงโดยแสงแดด จากนั้นจึงนําไปอัดเปนฟอน วิธีการนี้ใชในกรณีที่มีพืชอาหารสัตวเหลืออยูในแปลงมากโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน และตองการเก็บถนอมไวสําหรับใชในฤดูแลง หรือทําเพื่อสงขายแกกสิกรในบางทองที่ แตจะมีขอจํากัดในการทําคือ ตองการชวงเวลาที่ปราศจากฝนในขณะที่ทําการตากหญาแหง และตองการโรงเรือนสําหรับการเก็บถนอมเพื่อรักษาคุณภาพของหญาแหง 7.4 การตัดไปทําหญาหมัก (silage) เปนวิธีการถนอมพืชอาหารสัตวที่มีอยูเหลือมากในฤดูฝนอีกวิธีหนึ่งโดยใชขบวนการหมักแบบไมมีอากาศ ซึ่งจะชวยแกไขปญหาขอจํากัดในการทําหญาแหง การใชประโยชนจากแปลงพืชอาหารสัตวแตละวิธีก็มีขอดีและขอเสียแตกตางกัน แตสําหรับวิธีตัดใหสัตวกินสดใหคาของเปอรเซ็นตการใชประโยชนการแปลงพืชอาหารสัตวไดสูงกวาวิธีอื่น เนื่องจากการสูญเสียเกิดขึ้นนอย (ตารางที่ 7) แตทั้งนี้ตองคํานึงดวยวาวิธีการนี้ตองการแรงงานมาก และสูญเสียโอกาสของการหมุนเวียนธาตุอาหารใหกลับคืนลงสูแปลงพืชอาหารสัตว เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการปลอยใหสัตวแทะเล็ม 8. คุณคาทางโภชนะการของพืชอาหารสัตว (Nutritive value) องคประกอบที่ตองพิจารณาในเรื่องของคุณภาพอาหารสัตว ไดแก คุณคาทางเคมี (chemical composition) อัตราการกินของสัตว (intake) การยอมรับหรือความชอบของสัตว (acceptability) ความสามารถยอยได (digestibility) ซึ่งคาตาง ๆ มีขอดีและเสียที่แตกตางกันไป อยางไรก็ตามการวัดผลลผลิตหรือการเจริญเติบโตของสัตวเปนวิธีการที่ดีที่สุดในการประเมินคุณภาพของพืชอาหารสัตว แตทั้งนี้ตองคํานึงถึงปจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลตอผลผลิตหรือการเติบโตของสัตว ซึ่งสามารถสรุปไดดังรูปที่ 3 ตารางที่ 7 เปอรเซ็นตการสูญเสียและการใชประโยชนจากแปลงพืชอาหารสัตวโดยวิธีการตาง ๆ กระบวนการสูญเสีย วิธีการใชประโยชน ตัดใหสัตวกินสด แทะเล็ม หญาแหง หญาหมัก เก็บเกี่ยว 2 25 5 เก็บรักษา - - 5 30 สัตวไมกิน 15 50 15 15 รวมการสูญเสีย 17 50 45 50 เปอรเซ็นตการใชประโยชน 83 50 55 50 ที่มา : Skerman and Riveros (1990) องคประกอบทางเคมี (chemical composition) ของพืชอาหารสัตว (ตารางที่ 8) ไดจากผลการวิเคราะหทางเคมีเพื่อหาองคประกอบสําคัญตาง ๆ ไดแก โปรตีนหยาบ (crude protein) สารเยื่อใย (crude fiber) เถา (ash) ไขมัน (ether extract) คารโบไฮเดรท (nitrogen free extract) พลังงานและธาตุอาหารสําคัญ เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก แคลเซียม แตโดยคราว ๆ แลวโปรตีนหยาบนับวาเปน

17

Page 18: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

องคประกอบทางเคมีที่สําคัญที่สุดของพืชอาหารสัตว ทั้งนี้เพราะถาหากปริมาณโปรตีนหยาบในอาหารสัตวตํ่ากวา 7เปอรเซ็นตแลว สัตวจะกินอาหารชนิดนั้นลดนอยลง

ผลผลิตสัตวการเจริญเติบโตของสัตว

ความยอยได ชนิดของอาหารท่ียอย

องคประกอบทางเคมีchemical composition

digestibility & digested products

ปริมาณอาหารที่สัตวกินfeed intakeปจจัยสภาพแวดลอม

NUTRITIVE VALUE

อัตราการกินของสัตวrate of passage

RATE OF INTAKEการยอมรับของสัตวacceptability

ปริมาณอาหารสัตวforage availability

รูปที่ 3 ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต และใหผลผลิตของสัตว ในสวนที่เกี่ยวของกับคุณภาพอาหารสัตว ความสามารถยอยไดของพืชอาหารสัตว นับวาเปนเครื่องบงชี้ที่สําคัญในการบอกถึงคุณภาพของพืชอาหารสัตว เพราะความสามารถยอยไดของพืชอาหารสัตวหมายถึง คุณคาทางโภชนาการที่สัตวสามารถยอยไดจริง ๆ โดยคํานวณไดจาก ผลตางระหวางองคประกอบทางโภชนาการของพืชอาหารสัตวที่สัตวกินกับของมูลที่สัตวขับถายออกมา ซึ่งสามารถวัดไดโดยใชสัตวทดลอง (in vivo) หรือทําการยอยดวยการใชน้ํายอยจากสัตว (rumen fluid) มาทดลองในหองปฏิบัติการ (in vitro) ความสามารถยอยไดขององคประกอบทางเคมีแตละชนิดแตกตางกันไป และสามารถคํานวณไดดังตารางที่ 9 ผลรวมของเปอรเซ็นตความสามารถยอยไดขององคประกอบทางเคมีทั้งหมดในพืชอาหารสัตว เรียกวาโภชนะที่ยอยไดทั้งหมด (total digestible nutrient, TDN) สําหรับคุณคาทางอาหารของพืชอาหารสัตวและวัสดุที่เปนอาหารสัตวแตละชนิดสามารถดูไดจาก Tropical Feed ของ Bo (1990) ซึ่งมีทั้งหนังสือและโปรแกรมคอมพิวเตอรพีซี การกินอาหารของสัตว (intake) เปนลกัษณะเฉพาะของสัตวแตละชนิด แตก็ขึ้นอยูกับความสามารถในการยอยได และความนากิน (palatability) ของพืชอาหารสัตว ตลอดจนการเลือกกินของสัตวเอง (voluntary intake) อยางไรก็ตาม ความผันแปรในคุณภาพของพืชอาหารสัตว ไมวาจะเปนดานองคประกอบทางเคมี ความสามารถยอยได และการกินของสัตว ก็ขึ้นอยูกับสาเหตุตาง ๆ นอกเหนือจากฤดูกาลคือ 8.1 ชนิดของพืชอาหารสัตว 8.2 ระยะการเจริญเติบโตของพืชอาหารสัตว

18

Page 19: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

8.3 สวนของพืช ไดแก ใบ ลําตน หรือฝก 8.4 การใสปุยโดยเฉพาะไนโตรเจน และฟอสฟอรัส 8.5 การจัดการทุงหญา ไดแก ระบบการตัดหรือแทะเล็ม 8.6 สารเคมีไมพึงปรารถนาบางชนิดเชน ไมโมซีน (mimosine) ออกซาเลท (oxalate) ไนเตรท (nitrate) แทนนิน (tannin) กลูโคซาย (glucoside) ตารางที่ 8 สรุปผลการวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของพืชอาหารสัตวในประเทศไทย องคประกอบทางเคมี1 หญาอาหารสัตว ถั่วอาหารสัตว โปรตีนหยาบ (%) 9.83 + 3.77 19.48 + 2.90 สารเยื่อใย (%) 29.78 + 9.55 24.63 + 8.86 เถา (%) 8.93 + 2.73 12.26 + 2.37 ไขมัน (%) 1.07 + 0.37 3.33 + 1.52 คารโบไฮเดรท (%) 10.63 + 6.31 19.48 + 2.90 พลังงาน (กก.แคลอรี/ก) 197.79 + 19.24 (17) 245.55(1) แคลเซียม (มก/100 ก) 325.20 + 187.43 1723.47 + 428.43 ฟอสฟอรัส (มก/100 ก) 195.43 + 52.26 (19) 604.67 + 476.73 (3) เหล็ก (มก/100 ก) 29.29 + 19.36 (17) NA ที่มา : กรมปศุสัตว (2520) 1 คํานวณจากจํานวนพืชตระกูลหญา 23 ชนิด และพืชตระกูลถ่ัว 6 ชนิด ยกเวนที่ไดวงเล็บไวทายตัวเลข ตารางที่ 9 ความสามารถยอยไดขององคประกอบทางเคมีแตละชนิด และพลังงานที่ไดในพืชอาหารสัตวเขตรอน

องคประกอบทางเคมี ความสามารถยอยได พลังงานตอ 1 กรัม โปรตีนหยาบ 0.96 CP - 4.2 5.80 k.cal สารเยื่อใย 50 - 70 % 4.15 k.cal ไขมัน 20 - 60 % 9.40 k.cal คารโบไฮเดรท 40 - 70 % 5.65 k.cal

9. การจัดการทุงหญา (Pasture management) การจัดการทุงหญาเปนสิ่งสําคัญที่สุดของการทําทุงหญาเลี้ยงสัตว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหทุงหญามีความคงทน สามารถใหผลผลิตพืชและสัตวอยางสม่ําเสมอและเพียงพอ สิ่งที่ควรตองทราบสําหรับการจัดการทุงหญาคือ 1) ผลผลิตของพืชอาหารสัตวและ 2) ความตองการใชพืชอาหารสัตวในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง สําหรับผลผลิตของพืชอาหารสัตวนั้นขึ้นอยูอยางมากกับสภาพแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งฤดูกาล ปริมาณน้ําฝน ความอุดมสมบูรณของดิน และความสามารถในการฟนตัว (regrowth) หลังการแทะเล็มหรือตัด (defoliation) ของพืชแตละชนิด การฟนตัวของพืชอาหารสัตวขึ้นอยูกับ ระดับความรุนแรงของการแทะเล็มหรือการตัด ปริมาณ พื้นที่ใบที่เหลือ อาหารสะสม ความแข็งแรงของระบบราก และฤดูกาล ตลอดจนความถี่บอยของการใชประโยชนจากทุงหญา การเขาไปใชประโยชนพืชอาหารสัตวไมวาจะโดยใหสัตวแทะเล็มหรือการตัด มีผลทําใหพื้นที่ใบสําหรับการสังเคราะหแสงและความแข็งแรงของระบบรากลดลง ดังนั้นระยะเวลาที่ปลอยใหสัตวเขาแทะเล็ม และจํานวนสัตวตอพื้นที่ (stocking rate) ก็จะมีผลโดยตรงตอความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทุงหญา ฉะนั้นการจัดการทุงหญาที่ดีจึงตองทราบถึงความตองการอาหารสัตวและผลผลิตของพืชอาหารสัตวในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อที่จะสามารถคํานวณความรุนแรงของการใชทุงหญา (grazing pressure) ไดดังสมการ

19

Page 20: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

Grazing pressure = ความตองการอาหารของสัตวตอตัว x จํานวนสัตวตอพื้นที ่ ปริมาณผลผลิตพืชอาหารสัตวตอพื้นที่

ดังนั้นถาคา grazing prassure มีคามากกวา 1 แสดงวามีปริมาณพืชอาหารสัตวนอยกวาความตองการของสัตว ซึ่งก็จะมีผลทําใหแปลงหญาถูกใชอยางรุนแรง ผลที่ตามมาคือการฟนตัวของแปลงหญาอาจจะชาและเกิดความเสียหายไดงาย การจัดการเพื่อลด grazing pressure สามารถทําไดโดยการลดจํานวนสัตวตอพื้นที่ เชน การขายสัตวออกไปบาง หรืออาจใชวิธีการใหอาหารเสริมอื่น ๆ เชน อาหารขน หญาแหงหรือหญาหมัก แตโดยทางปฏิบัติแลวควรใหมีจํานวนสัตวตอพื้นที่พอเหมาะที่จะให grazing pressure ใกลเคียงกับ 1 ในระหวางชวงฤดูแลงที่ผลผลิตพืชอาหารสัตวตอพื้นที่ตํ่าที่สุด แลวเก็บถนอมพืชอาหารสัตวสวนที่เหลือใชในฤดูฝนเปนหญาหมัก หรือตัดขายสดสําหรับผูเลี้ยงสัตวใกลเคียงที่ขาดแคลนพืชอาหารสัตว ในการผลิตสัตวตองระลึกเสมอวาผลผลิตของสัตวตอหนวยพื้นที่ขึ้นอยูกับอัตราการเจริญเติบโตของสัตวตอตัว และจํานวนสัตวตอหนวนพื้นที่ อัตราการเจริญเติบโตของสัตวตอตัวขึ้นอยูกับพันธุกรรม การดูแลรักษา และการไดรับอาหารที่มีคุณภาพอยางเพียงพอ ดังนั้นการจัดการทุงหญาจะตองคํานึงถึงการจัดการจํานวนสัตวตอหนวยพื้นที่ใหเหมาะสมตอผลผลิตของทุงหญา โดยคงใหมีอัตราการเจริญเติบโตตอตัวของสัตวอยูในระดับที่เพียงพอ (รูปที่ 4)

รูปที่ 4 ความสัมพันธระหวางจํานวนสัตวกับอัตราการเจริญเติบโตของสัตวตอตัวและตอหนวยพื้นที่ (Skerman และ Riveros, 1990) นอกเหนือจากนี้สิ่งที่ควรคํานึงสําหรับการจัดการทุงหญาอยางมีประสิทธิภาพคือ 9.1 ระบบการแทะเล็ม ซึ่งมี 2 วิธีการหลักคือ ระบบจําเจ (continuous grazing system) อันหมายถึงระบบที่ใหสัตวอยูในแปลงพืชอาหารสัตวนั้นตลอดเวลาแปลงเดียว และระบบหมุนเวียน (rotational grazing system) ซึ่งหมายถึงการหมุนเวียนสัตวใหแทะเล็มแปลงพืชอาหารสัตวหลายแปลงอันจะทําใหแปลงพืชอาหารสัตวมีชวงเวลาพักฟนตัวในขณะที่ไมมีสัตวแทะเล็ม และมีชวงเวลาถูกแทะเล็มเฉพาะในขณะที่ปลอยสัตวเขาแปลงนั้น ๆ 9.2 จํานวนสัตว ซึ่งมีวิธีการจัดการ 2 แบบ คือ ระบบจํานวนสัตวคงที่ (set stock system) ไดแกการมีจํานวนสัตวคงที่ตลอดระยะเวลาที่ใชประโยชนแปลงพืชอาหารสัตว และระบบเปลี่ยนแปลงจํานวนสัตว (variable stock system) ไดแกการเปลี่ยนแปลงจํานวนสัตวที่เขาแทะเล็มแปลงพืชอาหารสัตว โดยคํานึงถึงปริมาณผลผลิตของพืชอาหารสัตวในแตละชวงเวลาใหเพียงพอกับความตองการของสัตว 9.3 ชนิดของสัตวที่เขาแทะเล็ม ในกรณีที่เลี้ยงสัตวหลายชนิด เชน วัวนม วัวเนื้อ แพะ หรือแกะ ควรจะคํานึงวาสัตวแตละชนิดมีความตองการ และมีความสามารถในการใชพืชอาหารสัตวแตกตางกัน โดยคราว ๆ แลว สัตวแตละชนิดมีความตองการอาหารที่มีคุณภาพดีมากนอยเรียงตามลําดับดังนี้ วัวนมที่กําลังใหนม แมวัวกําลังตั้งทอง ลูกวัวกําลังเจริญเติบโต วัวขุน พอวัว แพะ และแกะ ดังนั้น

20

Page 21: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

การแยกชนิดของสัตว แลวปลอยใหลงแทะเล็มแปลงพืชอาหารสัตวตามลําดับความตองการขางตน จะชวยใหสัตวไดอาหารที่มีคุณภาพดีเพียงพอตามความตองการของสัตวได 9.4 ระยะการเจริญเติบโตของพืช ถึงแมวาในระยะออนแลวพืชสวนใหญจะมีเปอรเซ็นตคุณคาทางอาหารสูงกวาพืชที่แก แตอยางไรก็ตามผลผลิตทั้งหมดที่ไดจากพืชอาหารสัตวก็จะเพิ่มขึ้นตามปริมาณผลผลิตน้ําหนักแหงของพืช ดังนั้นระยะที่เหมาะสมสําหรับการใชประโยชนแปลงพืชอาหารสัตวควรเปนระยะที่ดอกเริ่มบานไปจนถึงเร่ิมติดเมล็ด ถาหลังจากระยะที่ที่เมล็ดสุกแกไปแลวผลผลิต และคุณคาทางอาหารของพืชอาหารสัตวจะลดลงอยางรวดเร็ว (รูปที่ 5)

รูปที่ 5 คุณคาทางอาหารสัตวที่เปลี่ยนไปตามอายุของพืชอาหารสัตว (Skerman and Riveros, 1990) 9.5 ระบบการแทะเล็มแบบหมุนเวียน (rotational grazing) จะมีประสิทธิภาพดีกวาระบบการแทะเล็มแบบจําเจ (continuous grazing) ในแงของการลดการแพรระบาดของพยาธิ Sykes (1987) ไดอางอิงงานของ Vlassoff (1982) ถึงจํานวนตัวออนของพยาธิจะสะสมอยูมากบริเวณโคนตนของพืชอาหารสัตวที่ความสูงประมาณ 2-3 ซม.จากพื้นดิน ดังนั้นการแทะเล็มแบบหมุนเวียนโดยใหมีความสูงของการแทะเล็มและระยะเวลาสําหรับการพักแปลงที่เหมาะสมแลว นอกจากจะชวยใหการฟนตัวของแปลงหญาดีแลว ยังชวยตัดวงจรชีวิตของพยาธิที่สะสมบริเวณโคนตนพืช และลดโอกาสของการไดรับไขหรือตัวออนของพยาธิกลับเขาไปในตัวสัตวอีก 9.6 การปดแปลง (closing) หมายถึงการนําสัตวออกจากแปลง หรืองดการตัดใช เพื่อปลอยโอกาสใหตนพืชอาหารสัตวสามารถออกดอก และติดเมล็ด เปนการสราง seed soil reserved หรือสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุ โดยมากจะเริ่มทําการปดแปลงราวเดือนสิงหาคม - พฤศจิกายน 9.7 การใชพืชยืนตนโดยเฉพาะพืชตระกูลถ่ัวเชนกระถิน แคฝรั่ง (Gliricidia sp) แคไทย (Sesbania spp.) ถ่ัวมะแฮะ (Cajanus cajans) เปนอาหารเสริมโปรตีนสําหรับสัตว โดยอาจจะปลูกเปนแถวในแปลงทุงหญา หรือปลูกเปนร้ัวรอบ ๆ แปลงทุงหญา หรือในบริเวณบาน ทั้งนี้เพราะพืชยืนตนเหลานี้ใหผลผลิตและมีคุณคาทางอาหารคอนขางสม่ําเสมอตลอดทั้งป ซึ่งตางกับพืชตระกูลหญาที่มักใหผลผลิตและคุณคาทางอาหารลดต่ําลงในฤดูแลง

21

Page 22: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

9.8 การใชอาหารเสริมนอกเหนือจากพืชอาหารสัตว โดยท่ัวไปสภาพฤดูแลงและเมื่อพืชมีอายุมากขึ้น พืชอาหารสัตวก็มักจะมีคุณคาทางโภชนาการต่ําลง ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองพิจารณาถึงการใชอาหารเสริม เพื่อเพิ่มคุณภาพของโภชนะการใหไดตามความตองการของสัตว วิธีการตาง ๆ อาจทําไดโดยการใชเศษเหลือจากพืชปลูก เชน เถามันเทศ ตนถั่วลิสง กากสับปะรด ตนขาวโพดฝกออน การใชพืชตระกูลถ่ัวยืนตน การใชกากน้ําตาลและยูเรียเสริมฟางขาว 9.9 การใสปุยบํารุงทุงหญา ปกติควรมีการใสปุยบํารุงทุงหญาทุกปเปนอยางนอย เพื่อทดแทนปริมาณธาตุอาหารที่ตองสูญเสียไปโดยการแทะเล็มของสัตวแลวกลายเปนผลผลิตสัตว 10. การผลิตพืชอาหารสัตว และแนวทางการเพิ่มผลผลิตพืชอาหารสัตว เพื่อปรับปรุงและสนับสนุนการพัฒนาปศุสัตวของประเทศไทย จากการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการของกรมปศุสัตว (2531) ชาญชัย มณีดุลยไดยกตัวอยางความสําเร็จของการพัฒนาปศุสัตวโดยการปรับปรุงการผลิตพืชอาหารสัตว ในพื้นที่เฉพาะแหง เชน ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ จังหวัดสงขลา จังหวัดสุรินทร จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดราชบุรี โดยอาศัยเทคนิคและใชทรัพยากรที่มีอยูแตกตางกันในแตละทองที่ โดยสรุปแลวหนทางที่จะปรับปรุงและเพิ่มการผลิตพืชอาหารสัตวในประเทศไทยก็อาจทําไดโดยวิธีการตอไปนี้ 10.1 การปลูกสรางทุงหญาใหมในที่สาธารณะ ที่รกรางวางเปลา หรือที่ของสหกรณ 10.2 การปลูกพืชอาหารสัตวแบบสวนครัวในพื้นที่วางหลังบานเกษตรกร 10.3 การปลูกพืชอาหารสัตวรวมกับพืชยืนตน เชน สวนผลไม ยางพารา มะพราว และปาลมน้ํามัน 10.4 การใชพืชตระกูลถ่ัว หวานเพื่อปรับปรุงคุณภาพและปริมาณของพืชอาหารสัตวธรรมชาติ หรือเศษตอซังขาวหลังฤดูการทํานาปรกติ 10.5 การใสปุยแกทุงหญาธรรมชาติ และทุงหญาเสื่อมโทรม 10.6 การใชเศษวัสดุเหลือจากพืชปลูก เชน ยอดมันเทศ ยอดออย ตนขาวโพดออนฝกออน กากสับปะรด ตนถั่วลิสง 10.7 การใชระบบการทําฟารมแบบหมุนเวียน (Ley farming) 10.8 การใชไมยืนตนบางชนิดที่มีศักยภาพที่จะใชเปนพืชอาหารสัตวได เชน กระถิน แค โสน เปนพืชใหรมเงา หรือเปนร้ัว 10.9 การเก็บถนอมพืชอาหารสัตวที่มีเหลือเฟอในฤดูฝนไวใชในฤดูที่ขาดแคลน เชน การทําหญาแหง และหญาหมัก 10.10 การเพิ่มปริมาณการกินพืชอาหารสัตวคุณภาพต่ํา โดยการใชยูเรีย และ โมลาส อยางไรก็ตาม ประสบการณและความรูในการพัฒนาพืชอาหารสัตวของประเทศไทยก็ยังจํากัด ทั้งนี้เนื่องจากขาดการสนับสนุนอยางตอเนื่อง และขาดความสนใจอยางจริงจัง ปจจุบันมีหนวยงานของมหาวิทยาลัยตาง ๆ กรมปศุสัตว องคการสงเสริมกิจการโคนม กรป. กลาง และสํานักงานเรงรัดการพัฒนาชนบท ที่เห็นความสําคัญของพืชอาหารสัตว และไดมีความรวมมือกันทํางาน ในอันที่จะเปนประโยชนตอการพัฒนาพืชอาหารสัตว การปศุสัตว ตลอดจนความเปนอยูของกสิกรใหดีขึ้น นอกจากนี้ยังไดมีความพยายามที่จะจัดตั้งชมรมนักพืชอาหารสัตวแหงประเทศไทย เพื่อรวมมือและแลกเปลี่ยนประสบการณกันระหวางสมาชิก 11. บรรณานุกรม ชาญชัย มณีดุลย. 2531. แนวทางการผลิตพืชอาหารสัตวอยางตอเนื่องสําหรับโคนมรายยอย. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ืองแนวทางการ

วิจัยพืชอาหารสัตวคุณภาพดีสําหรับโคนม. 18-19 กรกฎาคม 2531, นราธิวาส. ชาญชัย มณีดุลย. 2544. ขอคิดเห็นการวิจัยดานพืชอาหารสัตว : ประสบการณในอดีตสรางขีดความสามารถในอนาคต. ขาวสารพืชอาหาร

สัตว. 7 (9) 32-49. ชาญชัย มณีดุลย และ อุทัย ลีรัตนชัย. 2533. งานวิจัยและการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวของกรมปศุสัตว. การสัมมนาเร่ืองเมล็ดพันธุ

แหงชาติคร้ังที่ 4. 1-4 พฤษภาคม 2533, ขอนแกน. เฉลิมพล แซมเพชร. 2530. หญาและถั่วอาหารสัตวเมอืงรอน. สํานักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพ : 165 หนา. บุญฤา วิไลพล. 2526. พืชอาหารสัตวเขตรอนและการจัดการ. ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน :

274 หนา.

22

Page 23: สารบัญ - Prince of Songkla Universitynatres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-211/... · ตารางที่ ต นท 3ุนการผลิ้ํตนิบานมดและ

ปฐพีชล วายุอัคคี. 2531. ฟารมโคเนื้อ. สํานักพิมพฐานเกษตรกรรม, นนทบุรี : 88 หนา. ประวีร วิชชุลตา และ สายัณห ทัดศรี. 2531. อาหารหยาบกับเศรษฐกิจการผลิตนม. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ืองแนวทางการวิจัยพืช

อาหารสัตวคุณภาพดีสําหรับโคนม. 18-19 กรกฎาคม 2531, นราธิวาส. วัลลภ สันติประชา และ ประวิตร โสภโณดร . 2524. พืชอาหารสัตว . ภาควิชาพืชศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, หาดใหญ : 263 หนา. รังสรรค อาภาคัพภะกุล. 2526. เขตปริมาณและการกระจายของฝนในภาคใต. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร,

หาดใหญ : 41 หนา. สายัณห ทัดศรี. 2530. พืชอาหารสัตว และหลักการทําทุงหญาเลี้ยงสัตว. บริษัทประชาชน จํากัด, กรุงเทพ : 445 หนา. สายัณห ทัดศรี. 2540. พืชอาหารสัตวเขตรอน การผลิตและการจัดการ. สํานักพิมพร้ัวเขียว, กรุงเทพ : 375 หนา. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2537. ขาวเศรษฐกิจการเกษตร. 40 (452) : 57. ศูนยสถิติการเกษตร. 2536. สถิติการเกษตรของประเทศไทยปการเพาะปลูก 2535/36 เอกสารสถิติ เกษตร เลขที่ 422. กองเศรษฐกิจ

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ : กรุงเทพฯ. Bogdan, A.V. 1977. Tropical Pasture and Fodder Plants. Longman, London : 422 pp. Hare, M.D. 1985. Tropical Pasture Seed Production for Village Farmers in South-East Asia. Department of Scientific and Industrial

Research, Palmerston North : 41 pp. Hirose, M. 1973. Comparison of physiological and ecological chracteristics between tropical and temperate grass species. ASPAC

bull. no. 26. Food and Fertilizer Technology Center, Taiwan : 20 pp. Humphreys, L.R. 1978. Tropical Pastures and Fodder Crops. Longman, Hong Kong : 135 pp. Humphreys, L.R. 1981. Environmental Adaptation of Tropical Pasture Plants. Macmillan Publishers Ltd., London : 261 pp. Humphreys, L.R. 1990. Tropical Pasture Utilisation. Cambridge University Press, Cambridge : 206 pp. Manidool, C. 1972. Grassland farming. Part 3. Establishment and management of tropical pastures. ASPAC bull. no. 21. Food and

Fertilizer Technology Center, Taiwan : 29 pp. 't Manetje, L.and R.M. Jones. 1992. Plant Resources of Southeast Asia. No.4 Forages. PROSEA, Bogor. : 300 pp. McIlroy, R.J. 1972. An Introduction to Tropical Grassland Husbandary. 2nded. Oxford Univ. Press, Oxford : 160 pp. Nilnond, C., N. Panapitakkul, C. Nualsri, W. Pantanahirun, R.L. Aitken and C.J. Asher. 1986. Soil fertility assessment in Southern

Thailand. 13th Inter. Congr. Soc. Soil Sci. 13-20 August, Hamburg : 887-890. Oram, R.N. 1990. Register of Australian Herbage Plant Cultivar. CSIRO, Melbourne : 304 pp. Skerman, P.J., D.G. Cameron and F. Riveros. 1988. Tropical Forage Legumes; 2nd ed. FAO, Rome : 629 pp. Skerman P.J. and F. Riveros. 1990. Tropical Grasses. FAO, Rome : 832 pp. Sykes, A.R. 1987. Endoparasites and herbivore nutrition. in. The Nutrition of Herbivores. Hocker J.B. and J.H. Trenouth eds. Acadmic

Press, Sydney : 211-232. Whiteman, P.C. 1980. Tropical Pasture Science. Oxford Univ. Press, Oxford : 392 pp. Whyte, R.O., T.R.G. Moir and J.P. Cooper 1965. Grasses in Agriculture. FAO, Rome : 417 pp. Wilsie, C.P. 1962. Crop Adaptation and Distribution. Eurasia Publishing House Ltd., New Delhi : 448 pp.

23


Recommended