+ All Categories
Home > Documents > › objects › thesis › fulltext › snamcn › ......

› objects › thesis › fulltext › snamcn › ......

Date post: 27-Feb-2020
Category:
Upload: others
View: 3 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
195
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที5 โดย นายเอกสิทธิเกิดลอย สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ISBN 974-464-872-4 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
Transcript
Page 1: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชัน้ที่ 2 ระดับชั้นประถมศกึษาปที่ 5

โดย นายเอกสิทธิ์ เกิดลอย

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยกีารศกึษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548

ISBN 974-464-872-4 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION LESSON IN SCIENCE LEARNING STANCE ON MATERIALS AND MATERIALS PROPERTIES

FOR SECOND LEVEL STUDENTS PATHOMSUKSA FIVE

By Ekasitte Kirdloi

A Master ’s Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

Department of Educational Technology Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2005

ISBN 974-464-872-4

Page 3: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหสารนิพนธ เรื่อง “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5” เสนอโดย นายเอกสิทธิ์ เกิดลอย เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

………………….……………………… (รองศาสตราจารย ดร. วิสาข จัติวัตร) รองอธิการบดีฝายวิชาการ รักษาราชการแทน คณบดีบณัฑิตวทิยาลัย วันที…่……เดอืน…………….พ.ศ………

ผูควบคุมสารนิพนธ รองศาสตราจารยประทิน คลายนาค คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ ………………………………….ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม) ………/……………../………… …………………………………..กรรมการ (รองศาสตราจารยประทิน คลายนาค) ………/……………../………… …………………………………..กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา) ………/……………../…………

Page 4: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

K 45257435 : สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คําสําคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

เอกสิทธิ์ เกิดลอย : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 5 (THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION LESSON IN SCIENCE LEARNING STANCE ON MATERIALS AND MATERIALS PROPERTIES FOR SECOND LEVEL STUDENTS PATHOMSUKSA FIVE) อาจารยผูควบคุมสารนิพนธ : รศ. ประทิน คลายนาค . 183 หนา. ISBN 974-464-872-4

การวิจัยครั้งนี้มีจดุประสงค 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน เรือ่ง วัสดุ

และสมบัติของวัสดุ 2) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสด ุ ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสมัฤทธิท์างการเรียนของนักเรียนในชวงช้ันที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 4) เพื่อศึกษาความคิดเหน็ของนักเรียนทีม่ีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดชองพราน อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ปการศึกษา 2548 จํานวน 30 คน คัดเลือกโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1) แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อสอบถามผูเช่ียวชาญ 2) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 5 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบสอบถามความความคิดเห็น

การวิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบวา 1. ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญดานการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พบวา ผูเช่ียวชาญ

ตองการใหพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีความแตกตางจากหนังสือเรียนทั่วไป มีความงายตอการเรียนรู เราความสนใจ หลากหลายในรูปแบบ เสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว ที่นาสนใจ ผูเรียนมีอิสระในการเรียนรู ควบคุมบทเรียนดวยตนเอง โดยอยางยิ่งในเนื้อหาวิทยาศาสตรที่ตองเนนความเขาใจในกระบวนการวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร

2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและ สมบัติของวัสดุ ของนักเรียนประถมศึกษาปที่5 เทากับ 80.22/80.78 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พบวาคะแนนหลังการเรียนสูงกวา กอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

4. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ พบวา โดยภาพรวมความคิดเห็นอยูในระดับดีที่สุด ( X = 4.59)

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ลายมือช่ือนักศึกษา…………………………………………. ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมสารนิพนธ……………………………………………………

Page 5: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

K45257435: MAJOR : EDUCATIONAL TECHNOLOGY KEY WORD : COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION

EKASITTE KIRDLOI : THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION LESSON IN SCIENCE LEARNING STANCE ON MATERIALS AND MATERIALS PROPERTIES FOR SECOND LEVEL STUDENTS PATHOMSUKSA FIVE. MASTER’S REPORT ADVISOR : ASSOC.PROF. PRATIN KLAYNARK. 183 pp. ISBN 974-464-872-4

The purposes of this research were 1) to study the way in developing computer assisted instruction on materials and materials properties 2) to develop the efficiency of computer assisted instruction on materials and materials properties to the norm 80/80 3) to compare learning achievement of the second level students Prathomsuksa 5 before and after studying with computer assisted instruction. 4) to study opinion of the students in studying with computer assisted instruction .

The sample used in this research were 30 students in Prathomsuksa 5 from Wat Changpran School, Ratchaburi during the 2005 academic year derived from purposive sampling.

The instruments in this research consisted of 1) structured interview form for the specialists. 2) computer assisted instruction on materials and materials properties for the second level students Prathomsuksa 5. 3) learning achievement test. 4) questionnaire about opinion.

The statistics used for analyzing the data were mean, standard deviation and t-test. The research finding were

1. About opinion of specialists developing computer assisted instruction found that the specialists wanted computer assisted instruction those are different from general textbooks , easy to learn, can encourage the learners interest, present in diverse forms of graphic and interested moveable pictures, the learners are free in learning and can control lessons by themselves especially in contents about science those need understanding in the scientific process and scientific mind.

2. The efficiency of the Computer Assisted instruction in science learning substance on materials and materials properties for the second level students Prathomsuksa 5 was 80.22/80.78 that was higher than provided norm.

3. students learning achievement after studying with computer assisted instruction was higher than before and statistical significant at 0.01

4. Profile of opinion of the students to computer assisted instruction on material and material properties was at the best level. ( x = 4.59)

Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2005 Student’s signature…………………………………………… Master’s Report Advisor’s signature………………………………………………

Page 6: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธนี้สําเร็จลงไดดวยดี โดยไดรับความเมตตา กรุณาเอาใจใส และรับความอนุเคราะห ใหความรู คําแนะนําปรึกษา ช้ีแนะแนวทางในการทําสารนิพนธ ใหความชวยเหลือดูแลเปนอยางดยีิ่งจากรองศาสตราจารยประทิน คลายนาค อาจารยผูควบคุมสารนิพนธ จึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ไว ณ โอกาสนี ้ ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม ประธานกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ และผูชวยศาสตราจารย ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาเสียสละเวลาใหคําแนะนํา ปรับปรุงแกไขสารนิพนธจนเสร็จสมบูรณ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูแกขาพเจาในทุกๆ รายวิชา อีกทั้งเจาหนาที่ที่ใหความชวยเหลืออนุเคราะหดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของและมีสวนทําใหขาพเจาสามารถศึกษาจนจบหลักสูตรได

ขอกราบขอบพระคุณอาจารยผูเช่ียวชาญที่ใหแนวทางในการสรางและตรวจสอบเครื่องมือวิจัยรวมทั้งหมด 6 ทานคือ อาจารยอนิรุทธ สติมั่น อาจารยหัสนัย ยามชวง อาจารยวิเชียร เทียมเมือง อาจารยอํานาจ ศิลปชัย อาจารยอกนิษฐ ศรีภูธร และอาจารยวรวุฒิ มั่นสุขผล ที่ไดใหความอนุเคราะหตรวจประเมินสื่อของขาพเจาและใหคําแนะนํา ตรวจสอบ แกไข ใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสมบูรณมากขึ้น

ขอขอบพระคุณ อาจารยบุญทวี ศรีเล็ก และ อาจารยอลงกรณ ศุภเอม ใหความอนุเคราะหในการหาคาความสอดคลองของเครื่องมือ

ขอขอบพระคุณคณะครู โรงเรียนบานหวยยาง โรงเรียนวัดชองพราน และโรงเรียน ชองพรานวิทยา ที่ใหความกรุณา และความรวมมือในการเก็บขอมูลการวิจัย

ขอขอบคุณกลุมตัวอยางนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดชองพราน ทุกคนที่ใหความรวมมือเปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ภรรยา ญาติพี่นอง ตลอดจนเพื่อนรวมชั้นเรียนระดับปริญญาโทสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา โครงการความรวมมือรุน 3 ทุกทาน ที่ใหกําลังใจและความชวยเหลือเปนอยางดี

ขอบคุณ เพื่อน ๆ พี่ ๆ นอง ๆ ที่ไมไดเอยนามทุกทานที่ใหกําลังใจและที่คอยสนับสนุน ผูวิจัย ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลกโปรดดลบันดาลใหทานทั้งหลายมีสุขภาพกายที่สมบูรณแข็งแรง สุขภาพจิตแจมใส ถึงพรอมดวย อายุ วรรณะ สุขะ พละ และ ส่ิงอันพึงปรารถนาทุกประการ เทอญ

Page 7: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย............................................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ........................................................................................................ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................. สารบัญตาราง..................................................................................................................... สารบัญแผนภูมิ..................................................................................................................

ง จ ฉ ญ ฏ

บทที่ 1 บทนํา......................................................................................................................

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา......................................................... วัตถุประสงคการวิจัย....................................................................................... สมมติฐานการวจิัย.......................................................................................... ขอบเขตการวิจยั............................................................................................. นิยามศพัทเฉพาะ...........................................................................................

1 1 5 5 6 7

2. เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของ...........................................................................… เอกสารเกี่ยวกับการวจิัยและพัฒนาทางการศึกษา.......................................... หลักการวจิัยและพัฒนาทางการศึกษา.................................................... การวิจัยและพฒันาทางการศึกษา............................................................ ขั้นตอนการดําเนนิการวจิัยและพัฒนา.................................................... การหาประสิทธิภาพ............................................................................... เอกสารที่เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู............................................................ องคประกอบของการเรียนรู................................................................. ทฤษฎีการเรียนรูกับการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน....................... ทฤษฎีการเรียนรูที่เกี่ยวกับการสรางและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน... เอกสารที่เกี่ยวกับการศึกษารายบุคคล.......................................................... ความหมายของการศึกษารายบคุคล...................................................... วัตถุประสงคการจัดเรียนการสอนรายบุคคล......................................... ประเภทของการศึกษารายบุคคล........................................................... ขั้นตอนการดําเนนิงานการจดัการเรียนการสอนรายบุคคล................... ขอดีและขอจํากัดของการศึกษารายบุคคล.............................................

9 9 9

10 10 12 13 14 15 19 21 22 23 24 24 25

Page 8: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

บทที่ หนา 2 เอกสารและเนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร.................................

ความสําคัญของวิทยาศาสตร.................................................................... ธรรมชาติและลักษณะของวิทยาศาสตร................................................... เปาหมาย วิสัยทัศน และคุณภาพ............................................................. สาระ......................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู................................................................................. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง............................................................................ คําอธิบายรายวิชาวทิยาศาสตรช้ันประถมศึกษาปที่ 5............................... เอกสารที่เกี่ยวกับคอมพวิเตอรชวยสอน.......................................................... ความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน...................................................... ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน............................................. การพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน................................................ ขอดีและขอจํากดัของคอมพิวเตอรชวยสอน............................................ ลักษณะการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน................................... การออกแบบและพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน........................... ขั้นตอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน.................................... ระบบชวยสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน......................................... งานวิจยัทีเ่กี่ยวของกับคอมพิวเตอรชวยสอน.................................................. งานวจิัยในประเทศ................................................................................... งานวจิัยตางประเทศ.................................................................................

26 26 27 28 32 32 34 35 36 36 37 38 41 44 45 49 52 54 54 56

3 วิธีการดําเนนิการวิจยั............................................................................................. ประชากรและกลุมตัวอยาง.............................................................................. เนื้อหาวิชาที่ใชในการวจิัย............................................................................... ระเบียบวธีิวิจัย................................................................................................. เครื่องมือที่ใชในการวิจยั................................................................................. การสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการวจิัย...................... ขั้นตอนในการดําเนนิการวิจัย......................................................................... สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล.......................................................................

58 58 59 59 59 60 72 73

Page 9: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

บทที่ หนา 4 ผลการวิเคราะหขอมูล............................................................................................

ตอนที่ 1 แนวทางการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน......................... ตอนที่ 2 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสด.ุ........................... ตอนที่ 3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลงัเรียนจากบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุ และสมบัติของวัสดุ ที่ไดจากกลุมตัวอยางจริง จํานวน 30 คน........... ตอนที่ 4 ความคิดเหน็ของนักเรียนที่มตีอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสด.ุ......

77 77

81

82

84 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................

สรุปผลการวิจัย............................................................................................... อภิปรายผลการวิจัย......................................................................................... ขอเสนอแนะ................................................................................................... ขอเสนอแนะทั่วไป............................................................................ ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัคร้ังตอไป.............................................

87 89 90 99 99 99

บรรณานุกรม........................................................................................................................

101

ภาคผนวก.............................................................................................................................. ภาคผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญ………………………………………….. …… ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง..............................................…… ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน.................................…… ภาคผนวก ง แบบสอบถามความคิดเห็น.....................................................……. ภาคผนวก จ แบบประเมินคาความสอดคลอง..............................................…… ภาคผนวก ฉ การวิเคราะหขอมูล..................................................................…… ภาคผนวก ช ตวัอยางเครื่องมือ ผังงาน บทดําเนินเรื่อง.................................…… ภาคผนวก ซ คูมอืการใชบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน..............................…… ภาคผนวก ฌ ภาพการทดลองสื่อ..................................................................……

108 109 112 124 128 131 137 163 172 180

ประวัติผูวจิัย.........................................................................................................................

183

Page 10: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1 แสดงผลจากกรรมการการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 6 ทาน…………………………………………………………...

63

2. สรุปความคิดเห็นจากกรรมการประเมินคณุภาพสื่อทั้ง 6 ทาน.......................... 64 3 แสดงการวเิคราะหการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ตามเกณฑ 60/60 ของขั้นการทดลองเดี่ยว (One-to-one Tryout)………..

65 4 แสดงการวเิคราะหการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ตามเกณฑ 70/70 ของขัน้การทดลองแบบกลุมยอย(Small group Tryout)...

66 5 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลการสัมภาษณจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา

วิทยาศาสตร.............................................................................................

78 6 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลการสัมภาษณจากผูเชี่ยวชาญดานบทเรยีน

คอมพิวเตอรชวยสอน..............................................................................

79 7 แสดงประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษา ปที่ 5 .......................................................................................................

81 8 แสดงการสรุปผลประสอทธิภาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน

ขั้นทดลองภาคสนาม (Field Tryout)........................................................

81 9 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรยีนและหลังเรียน และคะแนนความ

กาวหนา...................................................................................................

82 10 แสดงผลการวเิคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

กอนเรียนและหลังเรยีนจากบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน.....................

83 11 แสดงผลการวเิคราะหความคิดเห็นของนกัเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพวิเตอร

ชวยสอน..................................................................................................

84 12 แสดงรายละเอยีดการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) จากการสัมภาษณ

ผูเชี่ยวชาญ...............................................................................................

138 13 แสดงระดับการประเมินจากกรรมการการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 6 ทาน......................................................

144 14 แสดงการหาคา IOC ของแบบทดสอบ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง

วัสดุและสมบัติของวสัดุ จากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน........

146

Page 11: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

ตารางที่ หนา 15 แสดงการหาคา IOC ของแบบแสดงความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอร

ชวยสอน จากอาจารยที่ปรึกษา ผูเชีย่วชาญดานเนือ้หา และ ผูเชีย่วชาญ ดานคอมพิวเตอร......................................................................................

149 16 แสดงการหาคา IOC ของแบบแสดงความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอร

ชวยสอน เพื่อตรวจสอบสํานวนภาษาและลําดับของเนื้อหา ดานความ ชัดเจนของภาพ ตัวอักษร และเสียง การอธิบายเนือ้หา คําถาม และการ ใชงานของบทเรียน นกัเรียนกลุมทดลองเดี่ยว จํานวน 3 คน...................

150 17 แสดงผลการตรวจคะแนนและการวิเคราะหขอสอบกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตรเร่ือง วัสดแุละสมบัติของวัสด ุของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษา ปที่ 5 ขอสอบจํานวน 60 ขอ จํานวน 30 คน คะแนนมาตรฐาน (Standard Score)......................................................................................

151 18 แสดงการวเิคราะหหาคาความยากงาย (Difficulty) และคาอํานาจจําแนก

(Discrimination)ของแบบทดสอบ จํานวน 60 ขอ...................................

152 19 แสดงผลการหาคาความยากงาย (Difficulty) และคาอํานาจจําแนก

(Discrimination) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่คัดเลือกไปทดสอบกับ กลุมตัวอยาง จํานวน 30 ขอ.....................................................................

155 20 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิทยาศาสตรเร่ือง

วัสดุและสมบัตขิองวสัดุ ของนกัเรยีนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 .....................

157 21 แสดงการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรยีน กลุม

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดแุละสมบัติของวัสด ุเพื่อทดสอบ ความมนีัยสําคัญของความแตกตาง ระหวางกอนเรียนและหลังเรียน ......

159 22 แสดงผลรายละเอียดการวเิคราะหความคดิเห็นของนกัเรยีนที่มีตอบทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน..............................................................................

161

Page 12: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

สารบัญแผนภมิู แผนภูมิที ่ หนา

1 แสดงความสมัพันธของตัวแปร......................................................................... 6 2 แสดงการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง...............……………………. 61 3 แสดงขั้นตอนการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน...................................... 68 4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์…………………………… 70 5 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอร

ชวยสอน………………………………………………………………..

72 6 แสดงขั้นตอนการดําเนินการทดลอง.................................................................. 73

Page 13: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

1

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

ในพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ตอน

หนึ่งวา “…การศึกษาเปนปจจัยในการสรางและพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของบุคคล สังคมและบานเมืองใดใหการศึกษาที่ดีแกเยาวชนไดอยางครบถวนพอเหมาะกันทุกๆ ดาน สังคมและบานเมืองนั้นจะมีพลเมืองที่มีคุณภาพซึ่งสามารถดํารงรักษาความเจริญมั่นคงของประเทศไวและพัฒนาใหกาวหนาตอไปไดตลอด…” (พระราชปณิธานดานการศึกษา 2530 : 27) ดังนั้นมนุษยจึงเปนทรัพยากรที่มีคาที่สุดในโลก ถามนุษยมีคุณภาพสูงแลว มนุษยจะเปนผูสราง รักษา และทําใหโลกเจริญถาวรมั่นคงในทางตรงกันขาม ถามนุษยไมไดรับการพัฒนาอยางมีคุณภาพแลวมนุษยจะเปนผูทําลายโลก ทําลายสิ่งแวดลอมและทายสุดทําลายตนเอง การพัฒนาทรัพยากรมนุษยจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองดําเนินการอยางดีใหเกิดประสิทธิผลตอการพัฒนาสังคมและโลก โดยอาศัยการศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญ (โกวิท ประวาลพฤกษ 2535 : 1)

การศึกษาเปนสิ่งสําคัญในการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศใหมี คุณภาพ มีพัฒนาการทั้งทางดานรางกายและจิตใจสังคม และบุคลิกภาพ การจัดการศึกษาตามหลกัสตูรขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนใหสามารถเรียนรู พัฒนาตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด ผูสอนและผูจัดการศึกษาตองเปลี่ยนบทบาทมาเปนผูถายทอด ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุน ใหผูเรียนแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงเรียนรูตาง ๆ (กรมวิชาการ 2545 :1)

จากสภาพความเปลี่ยนแปลงทางสังคมอันเนื่องมาจากความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ไดมกีารปรบัปรุงเปลีย่นแปลงวิธีการจดัการเรียนการสอนสําหรับนกัเรียนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ โดยนําเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยตาง ๆ เขามาชวยในการจัดการเรียนการสอน ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาตพิุทธศักราช 2542 หมวด 9 มาตรา 66 ที่กลาววา ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขดีความ สามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อมีความรูดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชวีิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศกัราช 2542 : 62) เทคโนโลยีการศึกษาเปนส่ิงสําคัญอยางหนึ่ง ในการชวยใหการแกปญหาทางดานการศึกษาใหสําเร็จลุลวงไปได ไมวาจะเปนในดานการบริหาร การจัดการเรียนการสอน และ

1

Page 14: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

2

โดยเฉพาะอยางยิ่งในการนําเทคโนโลยีทันสมัยมาใชเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและหาประสิทธิผลการเรียนรูแกผูเรียน (กิดานันท มลิทอง 2543 : 18) คอมพิวเตอรเปนเทคโนโลยีที่ไดเขามามีบทบาทในหลายดาน และในดานหนึ่งซ่ึงมีความสําคัญมาก คือการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อการสอนในลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) หรือ CAI เปนสื่อท่ีนักการศึกษาและสถาบันการศึกษาในระดับตางๆ ใหความสนใจที่จะนํามาพัฒนาและประยุกตใชในระบบการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการไดใหความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอรชวยสอนที่แตกตางกันหลายประเด็น เชน ครรชิต มาลัยวงศ(2532 : 69) ไดกลาววาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหหลักการที่เรียกวา Individualized learning นักเรียนสามารถเรียนไดชาหรือเร็วเทากับความสามารถของตนเองไมตองเสียเวลา รอคอยไปดวยกันทั้งชั้น และผูเรียนบทเรียนเหมือนกันทุกอยางเปนการรักษาคุณภาพของการสอนและสามารถกําหนดไดแนนอนวาผูเรียนผานวิชานั้นๆ ไป แลวจะรูอะไรบาง บุปผาชาติ ทัฬหิกรณ(2539 : 23) ไดกลาววาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพตอการเรียนการสอนมากที่สุด และเทคโนโลยีที่กําลังไดรับความสนใจในทุกวงการ คืออินเทอรเน็ต ไดสงผลกระทบถึงการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในลักษณะที่จะทําใหเกิดมิติใหมของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีประสิทธิภาพ ควบคูไปกับการใชอินเทอรเน็ต

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการใชความสามารถของคอมพิวเตอรในการนําเสนอ ส่ือประสมอันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก แผนภูมิ ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศนและเสียง เพื่อถายทอด เนื้อหา บทเรียน หรือองคความรูในลักษณะที่ใกลเคียงกับการสอนจริงในหองเรียนมากที่สุด (ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2541 : 7)ผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเองอาจเรียน 1 คน 2 คน หรือเรียนเปนกลุมมีการโตตอบกันระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอร มีการแจงผลยอนกลับทันทีและใหแรงเสริม (ศิริชัย สงวนแกว 2534 : 173) ผูเรียนสามารถเรียนไดทันตามเวลาที่เขาสะดวก โดยไมตองรอใครหรือมีใครบังคับ เรียนไดชาหรือเร็วขึ้นอยูกับความรูพื้นฐาน และความสามารถของผูเรียนเอง (วีระ ไทยพานิช 2537 :7-17) อีกทั้งสามารถเสนอบทเรียนในลักษณะของโปรแกรม 5 ประเภทใหญ ๆ คือ สอนเนื้อหา(tutorial) แบบฝกหัด(drill) สถานการณจําลอง(simulation) เกมการสอน(game) แบบทดสอบ(test) (สุรเชษฐ คลองโปรง 2546 : 3)

นอกจากนี้คอมพิวเตอรยังมีสวนสัมพันธและจัดเปนส่ือท่ีเหมาะสมอยางยิ่งกับการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร จะเห็นไดจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ระบุวา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรูและ

Page 15: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

3

พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในมาตรา 23 เนนการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ใหความสําคัญของการบูรณาการความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา ในสวนของการเรียนรูดานวิทยาศาสตรนั้นตองใหเกิด ทั้งความรู ทักษะและเจตคติดานวิทยาศาสตร รวมทั้งความรู ความเขาใจและประสบการณเร่ือง การจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดํารงชีวิตประจําวันและในงานอาชีพตางๆ เครื่องมือเครื่องใชตลอดจน ผลผลิตตางๆ ที่ใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและในการทํางาน ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอ่ืนๆ ความรูวิทยาศาสตรชวยใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็มีสวนสําคัญมากที่จะใหมีการศึกษาคนควาความรูทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้ง วิทยาศาสตรทําใหคนไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะหวิจารณ มีทักษะที่สําคัญในการคนควาหาความรู ความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลหลากหลายและประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม ซ่ึงเปนสังคมแหงการเรียนรู (knowledge based society) ทุกคนจึงจําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร (scientific literacy for all) พื่อที่จะมีความรูความเขาใจโลกธรรมชาติเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น และนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค มีคุณธรรม ความรูวิทยาศาสตรไมเพียงแตนํามาใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี แตยังชวยใหคนมีความรู ความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชประโยชน การดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนา ส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุลและยั่งยืนและที่สําคัญอยางยิ่งคือ ความรูวิทยาศาสตรชวยเพิ่ม ขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถแขงขัน กับนานาประเทศและดําเนินชีวิตอยูรวมกันในสังคมโลกไดอยางมีความสุข

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สาระการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตรไดกําหนดเปาหมาย ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ไวดังนี้ วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยเฉพาะมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติและนําผลมาจัดระบบหลักการ แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนน ใหผูเรียนไดเปนผูเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด นั่นคือใหไดทั้ง

Page 16: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

4

กระบวนการและองคความรู ตั้งแตวัยเริ่มแรก กอนเขาเรียน เมื่ออยูในสถานศึกษาและเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแลว (กรมวิชาการ 2545 : 4)

การเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบันนั้นยังมีปญหาอยูมาก เชน จํานวนนักเรียนตอครูไมสมดุลกัน การจัดการเรียนการสอนของครูไมมีประสิทธิภาพ ครูยังขาดความสามารถพัฒนานักเรียน ใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสูตร ขาดการนําเอกสารเสริมหลักสูตรหรือคูมือไปใชในการจัด กิจกรรม การเรียนการสอนอยางจริงจัง ขาดสื่อ และการใชส่ือการสอนยังไมมีประสิทธิภาพ การประเมินผลการเรียนในชั้นเรียนยังขาดประสิทธิภาพ ครูสวนใหญไมนิยมจัดกิจกรรมการเรียน การสอนตามแผนการสอน และสอนโดยไมเนนทักษะกระบวนการ (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, หนวยศึกษานิเทศก 2539 : 2) นอกจากนี้นักเรียนแตละคนยังมีความแตกตางทางดานความพรอมและความสามารถ ซ่ึงอาจทําใหการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดําเนินไปไดไมเต็มที่ เนื่องจากครูไมสามารถดูแล นักเรียนไดอยางทั่วถึง และไมสามารถคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลไดอยางเต็มที่ จึงเปนสาเหตุใหเด็กเกงเบื่อหนาย เด็กออนทอใจไมตั้งใจเรียนเทาที่ควร การที่ครูคนเดียวจะสอนนักเรียนแตละคนใหไดผลดีตามตองการนั้นเปนเรื่องยาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพไดผลสําเร็จตามหลักสูตรนั้นครูผูสอนจะตองไมเนน แตเพียง ขอเท็จจริง เทานั้น การสอนจะตองเนนใหนักเรียนไดใช ศักยภาพของตนเองใหมากที่สุด (ภพ เลาหไพบูลย 2537 : 70) จัดใหนักเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมใหมากที่สุดโดยเฉพาะการ ลงมือปฏิบัติดวยตนเอง ชวยสงเสริมใหนักเรียนไดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จัดเนื้อหาและอุปกรณการเรียนการสอนใหสอดคลองกับพัฒนาการของผูเรียนและคํานึงถึงความตองการของผูเรียนดวย แนวทางหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายก็คือ การนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาใช

ดังนั้นผูสอนสาระการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตรจึงควรปรับปรุงวิธีการสอนใหทันสมัย ศึกษาหาความรูดวยตนเองจากสื่อที่กาวหนาในปจจุบัน โดยใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงเปนนวัตกรรมสมัยใหมวิธีหนึ่งที่จะชวยใหเกิดการเรียนรูไดดีขึ้น อีกทั้งเปนการสรางรากฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหแกผูเรียนกอนที่จะกาวไปสูขั้นอื่นๆตอไปคอมพิวเตอรชวยสอนยังชวยฝกทักษะใหผูเรียนไดรูจักใชเครื่องคอมพิวเตอร เปนการเสริมแรงและสรางเจตคติที่ดีตอการเรียนให ผูเรียนใฝที่จะศึกษาหาความรู โดยที่สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง เลือกที่จะเรียนบทเรียนซ้ําๆ กันไดหลายๆ คร้ังตามที่ตองการ ซ่ึงชวยลดปญหาเด็กที่เรียนออนและสามารถจําลองสถานการณจริงใหผูเรียนไดศึกษา ลดปญหาอันเกิดจากความเสี่ยงในการทดลองซึ่งหลังจากผูเรียนไดผานการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแลว ผูเรียนยังสามารถนําผลที่ไดประยุกตในชีวิตประจําวันไดดวย

Page 17: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

5

อีกทั้งเนื่องมาจากผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขั้น พื้นฐานของนักเรียน ปการศึกษา 2546 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2 มีผลสัมฤทธิ์ที่ตองปรับปรุง คือ ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคาเฉลี่ย 47.04 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.10 และระดับประเทศ คาเฉลี่ย 42.41 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.14 ตามลําดับ (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2, กลุมนโยบายและแผน 2547 : 12)

จากเหตุผลดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน ในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรียนใน ชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงผลที่ไดจะเปนประโยชนและเปนแนวทาง สําหรับผูที่มีความสนใจในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

2. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับ นักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว

3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

4. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

สมมติฐานการวิจัย

1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 หลังเรียน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สูงกวากอนเรียน 3. ความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของ นักเรียนอยูในระดับดี

Page 18: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

6

ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร

ประชากรที่ศึกษาเปนนักเรียนที่ศึกษาในระดับประถมศึกษาปที่ 5 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 3,952 คน

2. กลุมตัวอยาง กลุมตวัอยางทีใ่ชในการศึกษาเปนนกัเรียนชวงชั้นที ่ 2 ระดับชัน้ประถมศกึษาปที่ 5

โรงเรยีนวดัชองพราน อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จาํนวน 30 คน คัดเลือกโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก การเรยีนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ตัวแปรตาม ไดแก

1. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วสัดุและสมบตัิของวัสดุ สําหรับนักเรยีนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5

2. ความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบตัิของวัสด ุ

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

4. เนื้อหาวิชาท่ีใชในการศึกษา เนื้อหาวิชาที่ใชในการศึกษาคนควา คือ เนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร ชวงชั้นที่ 2 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ โดยมีขอบขายสาระการเรียนรู คือ

การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

๏ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ๏ ความคิดเหน็ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

แผนภูมิที่ 1 แสดงความสัมพันธของตัวแปร

Page 19: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

7

ตอนที่ 1 วัสดใุนชีวิตประจําวัน 1) วัสดุที่ไดมาจากพืชและสัตว 2) วัสดุที่ไดมาจากพื้นโลก

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุ1) ลักษณะเฉพาะตัว 2) สมบัติของวัสดุตางๆ 3) การนําสมบัติของวัสดุมาใชประโยชน

ตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ 1) ความหมายของสสาร 2) ของแข็ง ของเหลว และแกส 3) การเปลี่ยนสถานะของสสาร

5. ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ในระยะ เวลา 3 วันๆ ละ 60 นาที โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แลวใหผูเรียนเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หลังจากเรียนจบแลวใหทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทําแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอบทเรียน นิยามศัพทเฉพาะ

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรูความจํา ความเขาใจ ของนักเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงวัดไดจากคะแนนที่ไดจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนบทเรียนแบบสอนเนื้อหา(Tutorial) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ที่สรางขึ้นดวยโปรแกรมชวยสรางบทเรียนสําเร็จรูป ที่แสดงเปนขอความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบโดยการเสนอเนื้อหา คําถาม คําตอบ ใหผูเรียนไดเรียนดวย ตนเองแบบปฎิสัมพันธ (Interactive) ระหวางนักเรียนกับคอมพิวเตอร

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบจํานวน 30 ขอ ที่ผูวิจัย สรางขึ้นเปนชนิดคําตอบ 4 ตัวเลือก และผูวิจัยวัดผลการเรียนรูของนักเรียนกอนและหลังการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 20: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

8

4. การเรียนแบบรายบุคคล หมายถึง วิธีการที่ผูวิจัยไดจัดประสบการณการเรียนรูใหกับ นักเรียนกลุมตัวอยาง 1 คนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานคอมพิวเตอร 1 เครื่อง

5. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง อัตราสวนระหวาง ประสิทธิภาพของกิจกรรมที่ผูเรียนปฏิบัติ ซ่ึงไดแก แบบทดสอบในบทเรียนตอประสิทธิผลของสัมฤทธิ์ของผูเรียน หลังจากที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใชเกณฑ 80/80

80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบระหวางเรียน 80 ตัวหลัง หมายถึง คาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน

Page 21: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

9

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของนี้ เพื่อความสะดวกในการศึกษาคนควาผูวิจัยไดแบงเนื้อหาของเอกสารงานวิจัยออกเปนหัวขอตางๆ ดังนี้

1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจยัและพฒันาทางการศึกษา 2. เอกสารที่เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู 3. เอกสารที่เกี่ยวกับการศึกษารายบุคคล 4. เอกสารและเนือ้หาในสาระการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตร 5. เอกสารที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอรชวยสอน 6. งานวิจยัที่เกีย่วของคอมพิวเตอรชวยสอน

1. เอกสารที่เก่ียวกับการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา

หลักการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา

การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา (Education Research and Development หรือ R&D) ไดมีนักการศึกษากลาวถึงหลักการหลายทานทั้งในและตางประเทศดังนี้

บอรก, กอลล และมอริส (Borg, Gall and Meredith 1979: 784 – 785, อางถึงใน พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ 2531: 21 – 24) ไดกลาวไวดังนี้

การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษาเปนการพัฒนาการศึกษาโดยพื้นฐานการวิจัย (Research Based Education Development) เปนกลยุทธหรือวิธีการสําคัญวิธีหนึ่งที่นิยมใชในการปรับปรุงเปล่ียนแปลง หรือพัฒนาการศึกษาโดยเนนหลักเหตุผลและตรรกวิทยา เปาหมายหลักคือ ใชเปนกระบวนการในการพัฒนา และตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑทางการศึกษา อันหมายถึง วัสดุ ครุภัณฑทางการศึกษา ไดแก หนังสือเรียน ฟลมสไลด เทปเสียง เทปโทรทัศน คอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอร ฯลฯ อํานาจ ชางเรียน (2538 : 26 –28) กลาวถึงการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษาวามุงคนควาความรูใหม โดยการวิจัยพื้นฐานหรือมุงหาคําตอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานโดยการวิจัยประยกุต แมวาการวิจัยประยุกตทางการศึกษาหลายโครงการจะมีการพัฒนาผลิตภัณฑทางการศึกษา เชน การวิจัยเปรียบเทียบประสิทธิผลของวิธีสอนหรืออุปกรณการเรียนการสอน ผูวิจัยอาจพัฒนาสื่อหรือ

9 9

Page 22: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

10

ผลิตภัณฑทางการศึกษา สําหรับการเรียนการสอนแตละแบบแตละผลิตภัณฑเหลานี้ใชไดสําหรับการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยแตละครั้งเทานั้น ไมไดมีการพัฒนาไปสูการนําไปใชใน โรงเรียนทั่วไป ในดานการนําไปใช การวิจัยทางการศึกษามีชองวางระหวางการวิจัยกับการนําไปใชอยางกวางขวาง ผลการวิจัยจํานวนมากไมไดรับการพิจารณาใหนําไปใช

การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา พฤทธ์ิ ศิริบรรณพิทักษ (2531 : 21 – 22) ไดกลาวถึง ความแตกตางระหวางการวิจัยและพัฒนาการศึกษา กับการวิจัยทางการศึกษาไว 2 ประการ คือ

1. เปาประสงค การวิจัยทางการศึกษามุงคนควาหาความรูใหม โดยการวิจัยพื้นฐานหรือมุงหาคําตอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานโดยการวิจัยประยุกต แตการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา มุงพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑทางการศึกษา แมวาการวิจัยประยุกตทางการศึกษาหลายโครงการมีการพัฒนาผลิตภัณฑทางการศึกษา เชน การวิจัยเปรียบเทียบประสิทธิผลของวิธีสอนหรืออุปกรณการสอน ผูวิจัยอาจพัฒนาสื่อหรือผลิตภัณฑทางการศึกษา สําหรับการสอนแตละแบบแตละผลิตภัณฑเหลานี้ โดยใชสําหรับการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยแตละครั้งเทานั้น ไมไดพัฒนาไปสูการใชสําหรับโรงเรียนทั่วไป

2. การนําไปใช การวิจัยทางการศึกษามีชองวางระหวางผลการวิจัยกับการนําไปใชจริงอยางกวางขวาง กลาวคือ ผลการวิจัยทางการศึกษาจํานวนมากอยูในตู ไมไดรับการพิจารณานําไปใช นักการศึกษาและนักวิจัยจึงหาทางลดชองวางดังกลาวโดยวิธีที่เรียกวา “การวิจัยและพัฒนา”อยางไรก็ตาม การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษามิใชส่ิงที่ทดแทนการวิจัยทางการศึกษา แตเปนเทคนิควิธีที่จะเพิ่มศักยภาพของการวิจัยทางการศึกษาใหมีผลตอการจัดการทางการศึกษา คือเปนตัวเชื่อม เพื่อแปลงไปสูผลิตภัณฑทางการศึกษาที่ใชประโยชนไดจริงในโรงเรียนทั่วไป ดังนั้นการใชกลยุทธ การวิจัยและการพัฒนาทางการศึกษาเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการศึกษา จึงเปนการใชผลจากการวิจัยทางการศึกษา ไมวาจะเปนการวิจัยพื้นฐาน หรือการวิจัยประยุกตใหเปนประโยชนมากขึ้น ขั้นตอนของการดําเนินการวิจัยและพัฒนา

จากการศึกษาคนควา มีนักวิชาการและนักการศึกษาไดกําหนดขั้นตอนของการวิจัยและพัฒนาไวหลายทาน ซ่ึงมีความคลายคลึงกัน แตผูวิจัยเห็นวาขั้นตอนของการวิจัยและพัฒนาของบอรกและกอล มีความสมบูรณและครอบคลุมมากที่สุด ซ่ึงมีทั้งหมด 10 ขั้น (Borg and Gall 1979: 784 – 785) ดังนี้

Page 23: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

11

ขั้นท่ี 1 กําหนดผลิตภัณฑและรวบรวมขอมูลท่ีจะทําการพัฒนา ตองกําหนดใหชัดเจนวาผลผลิตทางการศึกษาที่จะวิจัยและพัฒนาคืออะไร โดยตอง

กําหนดลักษณะทั่วไป รายละเอียดของการใช และวัตถุประสงคของการใช รวมถึงการศึกษาทฤษฎีและงานวิจัย เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของและการสังเกตภาคสนามที่เกี่ยวของกับการใชผลิตภัณฑการศึกษาที่กําหนด ที่สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เกณฑในการเลือกกําหนดผลิตภัณฑทางการศึกษาที่จะวิจัยและพัฒนาอาจมี 4 ขอ คือ

1. ตรงกับความตองการและความจําเปนหรือไม 2. ความกาวหนาทางวิชาการ มีพอเพียงในการที่จะพัฒนาผลผลิตที่กําหนดไวหรือไม 3. บุคลากรที่มีอยู มีทักษะความรูและประสบการณจําเปนตอการวิจัยและพัฒนานั้น

หรือไม 4. ผลผลิตนั้นจะพัฒนาขึ้นในเวลาอันสมควรหรือไม ขั้นท่ี 2 วางแผนการวิจัยและพัฒนา ประกอบดวย การกําหนดวัตถุประสงคของการใชผลผลิต ประมาณการคาใชจาย

กําลังคนและระยะเวลาที่ตองใชเพื่อศึกษาความเปนไปได และพิจารณาผลสืบเนื่องจากผลิตภัณฑ ขั้นท่ี 3 พัฒนารูปแบบขั้นตอนของการผลิต เปนขั้นตอนในการวางแผนการออกแบบงาน และดําเนินการผลิตตามขั้นตอนที่วางไว ขั้นท่ี 4 ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑคร้ังท่ี 1 การนําผลิตภัณฑที่ออกแบบและจัดเตรียมไวไปทดลองใชเพื่อทดสอบหาประสิทธิภาพ

โดยทดสอบกับ 1 – 3 โรงเรียน ใชกลุมตัวอยางกลุมเล็ก ประเมินผลโดยใชแบบสอบถาม การสังเกต และการสัมภาษณแลวรวบรวมขอมูลมาวิเคราะห

ขั้นท่ี 5 นําขอมูลและผลการทดลองมาปรับปรุงผลิตภัณฑคร้ังท่ี 1 ขั้นท่ี 6 ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑคร้ังท่ี 2 นําผลิตภัณฑที่ปรับปรุงไปทดลอง เพื่อทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑตามวัตถุประสงคโดย

ทดสอบกับ 5 – 15 โรงเรียน ประเมินผลเชิงปริมาณ โดยการใชแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นท่ี 7 นําขอมูลและผลการทดลองมาปรับปรุงผลิตภัณฑคร้ังท่ี 2 ขั้นท่ี 8 ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑคร้ังท่ี 3 นําผลิตภัณฑที่ปรับปรุงไปทดลองเพื่อทดสอบคุณภาพของการใชงานของผลผลิตโดยใช

ตามลําพังในโรงเรียน 10 – 30 โรงเรียน ประเมินผลโดยใชแบบสอบถาม การสังเกตและการสัมภาษณแลวรวบรวมขอมูลมาวิเคราะห

Page 24: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

12

ขั้นท่ี 9 ปรับปรุงผลิตภัณฑคร้ังท่ี 3 นําขอมูลและผลการทดลองมาพิจารณา ปรับปรุงเพื่อผลิตและเผยแพรตอไป ขั้นท่ี 10 การนําไปใช ขั้นนี้เปนการเสนอรายงานเกี่ยวกับผลการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑในที่ประชุมสัมมนา

ทางวิชาการหรือวิชาชีพ เพื่อนําไปใชตอไป

การหาประสิทธิภาพ ในการหาประสิทธิภาพมีผูใหความหมายไวหลายประการดังนี้ ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526:127) กลาวถึงการหาประสิทธิภาพส่ือการสอนวาเปนการ

ประเมินหรือพิจารณาคุณคาตางๆ ของส่ือนั้นๆ เพื่อจะไปแกไขปรับปรุงใหไดผลตามจุดมุงหมายกอนที่จะนําส่ือนั้นไปใชในกระบวนการเรียนการสอนและเผยแพรตอไป

บุญชม ศรีสะอาด (2533:23) กลาวถึงการหาประสิทธิภาพสื่อการสอนวาเปนการประเมินผลสื่อการสอนวา ส่ือการสอนมีคุณภาพหรือมีคุณคาหรือไม ในระดับใด

สรุปไดวา การหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนเปนขั้นตอนที่สําคัญของกระบวนการผลิตสื่อการสอนวาสื่อการสอนนั้นมีคุณภาพเพียงใด มีจุดเดนจุดดอยอยางไร ตรวจสอบและพิจารณาคุณคาของสื่ออยางมีระบบ และนําสื่อที่ไดรับการตรวจสอบแลวมาปรับปรุงและพัฒนากอนนําส่ือไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพตอไป

การหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนใน

การสรางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคถึงระดับเกณฑที่คาดหวังได (กฤษมันต วัฒนาณรงค 2540 : 61) การที่จะทราบวาจะบรรลุวัตถุประสงคตางๆ ของบทเรียนโปรแกรมที่ไดวางไวหรือไมนั้นมีเครื่องมือวัดหลายชนิดดวยกัน เกณฑมาตรฐาน 80/80 เปน เครื่องมือที่จะใชในการตรวจสอบได

ชัยยงค พรหมวงศ (อางถึงใน ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ 2540 : 287) อธิบายไวสรุปไดวา 1. กําหนดเกณฑประสิทธิภาพของสื่อ เปนระดับประสิทธิภาพที่จะชวยใหผูเรียนเกิด

การเรียนรูตามที่กําหนด ปจจุบันมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานสื่อ ดังนี้ 1.1 สําหรับสื่อที่มีเนื้อหาเปนความรูความเขาใจ ตั้งเกณฑได 80/80 ถึง 90/90 1.2 สําหรับเนื้อหาที่เปนทักษะหรือเจตคติ ตั้งเกณฑต่ํากวาแบบแรก เชน 75/75

Page 25: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

13

ทั้งสองเกณฑนี้ ถือความแปรปรวนได 2.5% ถึง 5% นั่นคือ ประสิทธิภาพของสื่อตองไมต่ํากวาเกณฑ 5% โดยปกตินิยมใหไมต่ํากวา 2.5%

2. กําหนดเกณฑประสิทธิภาพสื่อประเภทบทเรียนแบบโปรแกรม อาศัยเกณฑมาตรฐาน เชน 90/90 โดยที่ตัวแรก 90 ตัวแรกหมายถึง รอยละของ

คะแนนรวมของผลสอบของผูเรียนทั้งหมดที่ตอบถูกตอง ตองไมต่ํากวา 90 สําหรับ 90 ตัวหลังหมายถึง ขอสอบวัดจุดประสงคแตละขอท่ีผูเรียนทําถูกตองไมต่ํากวารอยละ 90 ถาขอใดที่ผูเรียนทําไดต่ํากวา รอยละ 90 ตองแกไขในบทเรียนแบบโปรแกรมขอนั้นๆ แลวทําการทดสอบซ้ําใหมจนกวาจะไดคะแนนถึงเกณฑมาตรฐาน 90/90

กฤษมันต วัฒนาณรงค (2540 : 61 – 62 ) กลาววา การหาประสิทธิภาพบทเรียน CAI ที่

เปนอยูสวนมากใชวิธีการหาประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรมและชุดการสอน ประสิทธิภาพท่ีวัดออกมาจะพิจารณาจากเปอรเซ็นตการทําแบบฝกหัด หรือกระบวนการเรียนและปฏิสัมพันธ กับเปอรเซ็นตการทําแบบทดสอบเมื่อจบบทเรียน แสดงเปนตัวเลข 2 ตัว เชน 80/80, 85/85, 90/90 โดยเลขตัวแรก คือเปอรเซ็นตของผูที่ทําแบบฝกหัดถูกตองถือเปนประสิทธิภาพของกระบวนการ และเลขตัวหลัง คือเปอรเซ็นตของผูทําแบบทดสอบถูกตองโดยถือเปนประสิทธิภาพผลลัพธ เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพ CAI ซ่ึงยึดหลักการและทฤษฎีการสรางที่ยึดถือความแตกตางระหวางบุคคลเชนเดียวกับบทเรียนโปแกรม จึงพิจารณาประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของ ผลลัพธเชนเดียวกับการหาประสิทธิภาพบทเรียนโปรแกรมและชุดการสอน

ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มาจากผลลัพธการคํานวณ E1 และ E2 เปนตัวเลข ตัวแรกและตัวหลังตามลําดับ ถาตัวเลขใกล 100 มากเทาไรยิ่งถือวามีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยที่คาสูงสุดที่ 100 และเกณฑที่ใชพิจารณาการรับรองมาตรฐานประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน ตามแนวคิดในการหาประสิทธิภาพแบบนี้จะอยูในระดับ 80/80 ขึ้นไปจึงจะถือวามีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชเปนบทเรียนได

สรุปไดวา ถาการทดสอบบทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนไดตามเกณฑ มาตรฐาน 80/80 โปรแกรมคอมพิวเตอรนั้นก็สามารถที่จะนําไปใชไดอยางสมบูรณ

2. เอกสารที่เก่ียวกับจิตวิทยาการเรียนรู มนุษยและสัตวเกิดมาพรอมๆ กิริยาสะทอน (Unconditioned Reflexes) ซ่ึงคือการ

ตอบสนองสิ่งเราโดยอัตโนมัติและไมมีเงื่อนไข เชน การตะโกนเรียกชื่อเพื่อน ถาคนที่มีช่ือเรียก

Page 26: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

14

ตามที่เราตะโกนนั้นไดยิน ก็จะหันมาเราโดยทันที หรือเสียงดังทําใหตกใจ เปนตน และการจัดการเรียนการสอน เปนการบูรณาการตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุมพฤติกรรม เนื่องจากในความหมายทางจิตวิทยานั้น พฤติกรรมมนุษยเกิดจากการเรียนรู ศักยภาพแหงการเรียนรูของมนุษยเปนศักยภาพที่ติดตัวมาแตกําเนิด การเรียนรูจึงเปนพฤติกรรมที่เห็นไดชัดเจน ซ่ึงความหมายของการเรียนรูมีนักการศึกษาหลายทานกลาวใหความหมายดังนี้

พรรณี ช.เจนจิต (2538 : 28) ใหความหมายวา การเรียนรู คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซ่ึงเปนผลของประสบการณเดิม ซ่ึงจะรวมทั้งสิ้นที่เคยทํามาเปนประจําจนกลายเปนนิสัย ความรู ทักษะ และความคาดหวังตางๆ

เสาวนีย สิกขาบัณฑิต (2528 : 112 – 113) กลาววา การเรียนรู คือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมอันเนื่องมาจากประสบการณ ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมนุษย เราจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3 ดาน ไดแก ดานความรู ทักษะ เจตคติ การเรียนรูเกิดขึ้นในตัวบุคคลไดและมีปริมาณมากหรือนอย มีประสิทธิภาพเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับองคประกอบตาง ๆ หลายประการ คือ แรงจูงใจ (Motive) ขบวนการสอน (teaching procedure) และขบวนการเรียน (studying procedure)

กลาวโดยสรุป การเรียนรู คือการที่ผูเรียนไดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น ทั้ง 3 ดาน ไดแก ดานความรู ทักษะ เจตคติ อันเปนผลสืบเนื่องมาจากการไดรับประสบการณและการฝกฝน ซ่ึงประสิทธิภาพในการเรียนรูขึ้นอยูกับปจจัย 3 ประการ คือ แรงจูงใจ กระบวนการสอนและกระบวนการเรียน องคประกอบของการเรียนรู ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533 : 61 – 62) ไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญของการเรียนรู อันเกิดจากกระบวนการตอบสนองเมื่อมีการเสนอสิ่งเรานั้น มีอยูดวยกัน 4 ประการ คือ

1. แรงขับ (drive) หมายถึง ความตองการของผูเรียนในบางสิ่งบางอยางแลวจูงใจ (motivated) ใหผูเรียนหาทางตอบสนองความตองการ

2. ส่ิงเรา (stimulus) เมื่อมีส่ิงเรา ผูเรียนจะไดรับความรู (message) หรือการชี้แนะ (cue) ทันทีทันใดจากสิ่งเรานั้น กอนที่จะตอบสนอง

3. การตอบสนอง (response) หมายถึง การที่ผูเรียนแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอส่ิงเรา ซ่ึงอธิบายไดดวยพฤติกรรมที่ผูเรียนแสดงออก

4. การเสริมแรง (reinforcement) หมายถึง การใหรางวัล เชน การชมเชยผูเรียนในกรณีที่ผูเรียนตอบสนองถูกตอง

Page 27: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

15

ทฤษฎีการเรียนรูกับการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน ในการออกแบบการเรียนการสอน ผูที่ออกแบบไดดีควรมีพื้นฐานความรูดานหลักการ

และทฤษฎีที่เกี่ยวของอยางกวางขวาง เชน หลักการวัดและประเมินผล หลักการสอนและวิธีสอน ทฤษฎีการเรียนรูและทฤษฎีการสอน หลักการและทฤษฎีดังกลาวเกิดขึ้นจากการศึกษาคนควาและการวิจัยของนักจิตวิทยาการศึกษาเกือบทั้งส้ิน เชน ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral theories) และทฤษฎีปญญานิยม (Cognitive theories) ซ่ึงนํามาประยุกตใชเพื่อการเรียนการสอนอยางกวางขวาง (กรมวิชาการ 2544 : 35)

1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral theories) นักทฤษฎีกลุมนี้เชื่อวา พฤติกรรมของมนุษยนั้นเกิดขึ้นจากการเรียนรู สามารถ

สังเกตพฤติกรรมในรูปแบบตางๆ กัน และเชื่อวาการใหตัวเสริมแรง (Reinforced) จะชวยใหเกิดพฤติกรรมตามตองการได

Skinner เชื่อวาตัวเสริมแรง เปนตัวแปรสําคัญในการเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการเรียนรูของผูเรียน เกี่ยวของกับความเร็ว ความอดทนในการทํางาน ความสามารถบังคับตนเอง และชวยใหเกิดความคิดสรางสรรค การเสริมแรงอาจเปนรูปแบบของการใหรางวัลท่ีเหมาะสม หรืออาจเปนความพึงพอใจที่เกิดขึ้นจากความสําเร็จในการเรียนหรือทํากิจกรรม Skinner ไดแยกลกัษณะของตัวเสริมแรงที่ชวยใหเกิดแรงจูงใจออกเปน 3 ลักษณะ คือ ตัวเสริมแรงที่เปนวัตถุส่ิงของ ตัวเสริมแรงทางสังคม และตัวเสริมแรงภายในตนเอง

Malone เปนนักวิจัยผูหนึ่งที่พบวาองคประกอบของตัวเสริมแรง ที่เปนแรงจูงใจแหงความสําเร็จ คือ

1. ความทาทาย (challenge) ความทาทายเปนความตองการของมนุษย ที่จะเอาชนะส่ิงที่ตนเองคาดวาจะชนะได Malone ไดกลาววา ในการสรางสภาวะเพื่อใหเกิดการทาทายนี้ คือ กิจกรรมนั้นๆ จะตองมีเปาหมายที่ผูเลนสามารถไปถึงไดในระดับที่ตางกัน ตามระดับความสามารถของแตละคน ไมใชเพียงแคแพหรือชนะ Weiner นักจิตวิทยาไดศึกษาเกี่ยวกับแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิพบวา มนุษยจะเลือกจุดหมายที่ตนเองคิดวามีโอกาสทําไดสําเร็จประมาณครึ่งตอคร่ึง หากสําเร็จหรือเนื่องจากบุคคลผูนั้นมีความสามารถมากขึ้น บุคคลนั้นก็จะพยายามเลือกจุดหมายที่ยากขึ้นคนเร่ือยๆ สรุปแลวธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษยคือ การตั้งจุดหมายที่ทาทาย โดยมองเอาความสําเร็จเปนความพอใจและความนิยมชมชื่นในตนเอง

จุดมุงหมายที่คอนขางยากของแตละคนมีระดับไมเทากัน ผูสรางบทเรียนคอมพิวเตอรหรือบทเรียนทั่วไป ควรคํานึงถึงการกําหนดความยากงายของจุดหมาย และตองแนใจ

Page 28: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

16

วาผูเรียนสามารถจะไปถึงจุดหมายไดตามความสามารถของตน เพราะสิ่งนี้จะเปนตัวเสริมแรงที่เกิดขึ้นโดยไมตองมีรางวัลภายนอกเปนเครื่องลอ

2. จินตนาการเพอฝน (fantasy) จินตนาการเพอฝน หมายถึง การสรางสภาวะตางๆ เพื่อที่จะกระตุนใหบุคคลเกิดจินตภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองไมเคยพบ หรือไมเคยมีประสบการณมากอน จินตภาพนี้อาจเปนลักษณะของวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ เชนลูกศรและลูกโปง หรืออาจเปนการสรางสถานการณทางสังคม เชน การที่ผูเลนไดรับการสมมุติใหเปนเจาเมือง

Freud ไดอธิบายเกี่ยวกับความชอบของเด็กในการเลนเกมที่มีรูปหรือสัญลักษณประกอบ (Symbolic game) วา สาเหตุสําคัญของความชอบนี้ก็เพราะความตองการเปนผูชนะ หรือประสบความสําเร็จในบางสิ่งบางอยางที่ตนเองตองการชนะ หรือเคยพลาดมากอน เพราะธรรมชาติอยางหนึ่งที่ติดตัวมนุษย คือความปรารถนา และการที่มนุษยฝนกลางวันนั้น ก็เพื่อที่จะรักษาระดับของความปรารถนาใหสูงไวนั่นเอง

จากทฤษฎีถาการสรางจินตนาการเพอฝนในการเรียนการสอนเปนสิ่งที่ชวยสนองความปรารถนาของผูเรียน หรือเปนองคประกอบที่ชวยผอนคลายความขัดแยงของผูเรียน เหมือนกับจินตนาการเพอฝนที่ผูเรียนสรางขึ้นเอง การสรางจินตนาการเพอฝนที่เหมาะสมเพื่อการเรียนการสอนจะเปนตัวที่ชวยควบคุมแนวทางในการสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียนดวย ปญหาอยูที่วาจะสรางอยางไร จึงจะสนองความตองการของผูเรียน 3. ความอยากรูอยากเห็น (curiosity) เปนปจจัยที่มีผลตอการเรียนรู การจัดหาสิ่งเราเปนสิ่งสําคัญที่ชวยกระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็น และใหความอยากรูอยากเห็นนั้นเกิด ตอเนื่องกันไป Berlyne ไดศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรูของมนุษยและสัตว อันเปนผลสืบเนื่องมาจากความอยากรูอยากเห็น พบวาองคประกอบสําคัญของสิ่งเรา 4 อยาง คือ ความแปลกใหม (novelty) ความซับซอน (complexity) ความประหลาดใจ (surprisingness) และความไมสอดคลอง (incongruity)

มาโลน (Malone ) ไดแบงประเภทของความอยากรูอยากเห็นออกเปน 2 ประเภท คือ

1) ความอยากรูอยากเห็นในดานประสาทสัมผัส เปนความอยากรูอยากเห็นอันเกิดจากสิ่งเราภายนอก เนนเฉพาะความอยากรูอยากเห็นจากการไดเห็นและการไดยินมากกวาสิ่งอื่น เชน แสง สี เสียง และการจัดสภาพแวดลอมอื่นๆ ในลักษณะของการผสมผสานกัน เชน สีกับเสียง หรือสีกับคําอาน หรือภาพกับเสียง

2) ความอยากรูอยากเห็นในดานความคิดและความเขาใจ เกี่ยวของกับระบบและ โครงสรางของการรับรูของมนุษย มีหลักการที่เกี่ยวของอยู 2 ประการ คือหลักการที่กลาวถึงความ

Page 29: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

17

สมบูรณในตัว และความสม่ําเสมอ โดยเชื่อวาวิธีหนึ่งที่จะกระตุนความอยากรูอยากเห็นของผูเรียน คือการใหขอมูลที่ดูเหมือนวายังไมมีความสมบูรณในตัว และความเชื่อมั่นในการใหส่ิงเราที่ไมมีความคงที่สม่ําเสมอ การประยุกตแนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมนยิมออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

จากหลักการแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูจากกลุมพฤตกิรรมนิยม สามารถนํามาประยุกตใชในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดังนี ้

1. ควรแบงเนือ้หาบทเรียนออกเปนหนวยยอย 2. แตละหนวยยอยควรบอกเปาหมายและวัตถุประสงคใหชัดเจนวา ตองการให

ผูเรียนศึกษาอะไร และศกึษาอยางไรบาง 3. ผูเรียนสามารถเลือกความยากงายของเนือ้หา และกิจกรรมใหสอดคลองกับความ

ตองการและความสามารถของตนเองได 4. เกณฑการวดัผลตองมีความชัดเจน นาสนใจ บอกไดวาผูทดสอบอยูตําแหนงใด

เมื่อเทียบกับเกณฑปกติ และการวัดผลควรทําอยางตอเนือ่ง 5. ควรใหขอมูลปอนกลับในรูปแบบที่นาสนใจทันทีทันใด หรือกระตุนใหเกิด

แรงจูงใจ 6. ควรใชภาพหรือเสียงที่เหมาะสม 7. กระตุนใหผูเรียนเกดิจินตนาการที่เหมาะสมกับวยั โดยการใชขอความ ใชภาพ

เสียง หรือการสรางสถานการณสมมติ โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในสถานการณนั้นๆ 8. การนําเสนอเนื้อหาและการใหขอมูลยอนกลับ ควรใหแปลกใหม ซ่ึงอาจใชภาพ

เสียง หรือกราฟก แทนที่จะใชคําอานเพียงอยางเดยีว 9. เสนอขอมูลในลักษณะของความขัดแยงทางความคิด 10. ควรสอดแทรกคําถามเพื่อกระตุนใหผูเรียนเกดิความสงสัย หรือประหลาดใจเมื่อ

เร่ิมตนบทเรียนหรือระหวางเนื้อหาแตละตอน 11. ใหตวัอยางหรือหลักเกณฑกวาง ๆ เพือ่กระตุนใหผูเรียนคิดคนหาคําตอบเอง การ

คอย ๆ ช้ีแนะหรืออาจบอกใบอาจจําเปน ซ่ึงจะชวยสรางและรักษาระดบัความอยากรูอยากเห็น 2. ทฤษฎีปญญานิยม (Cognitive theories) ทฤษฎีปญญานิยมเกิดจากแนวคิดของ Chomsky ที่มีความเห็นไมสอดคลองกับ

แนวคิดของนักจิตวิทยาในกลุมพฤติกรรมนิยม Chomsky เชื่อวาพฤติกรรมมนุษยนั้นเกิดขึ้นจากจิตใจ ความคิด อารมณ และความรูสึกแตกตางกันออกไป ซ่ึงอธิบายพฤติกรรมของมนุษยวา

Page 30: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

18

พฤติกรรมมนุษยมีความเชื่อมโยงกับความเขาใจ การรับรู การระลึกหรือการจําได การคิดอยางมีเหตุผล การตัดสินใจ การแกปญหา การสรางจินตนาการ การจัดกลุมส่ิงของ และการตีความ

นักทฤษฎีกลุมปญญานิยมมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูวา การเรียนเปนการผสมผสาน ขอมูลขาวสารเดิมกับขอมูลขาวสารใหม การรับรูก็จะงายขึ้น ผูเรียนจะมีลีลาในการรับรูและการเรียนรู และการนําไปใชแตกตางกัน อันทําใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับความแตกตางของการจํา

พีเจท (Piaget) ผูศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาดานการรับรูของเด็กและสรางทฤษฎีพัฒนาการทางปญญา เชื่อวามนุษยเกิดมาพรอมกับโครงสรางสติปญญาที่ไมซับซอน และจะคอยๆ มีการพัฒนาขึ้นตามลําดับเมื่อไดมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ผูสอนจึงควรจัดสภาพแวดลอมใหผูเรียนไดคิด ไดรูจักวิธีการ และใหเกิดการคนพบดวยตนเอง บรูเนอร(Bruner) เรียนวิธีการดังกลาวนี้วา การเรียนรูโดยการคนพบ โดยผูสอนตองมีความเขาใจวากระบวนการคิดของเด็กและของผูใหญแตกตางกัน การเรียนการสอนตองเนนการจัดหรือการสรางประสบการณที่ผูเรียนคุนเคยกอน และควรแทรกปญหาซึ่งผูสอนอาจเปนผูตั้งปญหา หรืออาจมาจากผูเรียนเปนผูตั้งปญหา แลวชวยกันคิดแกไขและหาคําตอบ สวนรางวัลที่ผูเรียนไดรับนั้นควนเนนแรงจูงใจภายในมากกวาแรงจูงใจภายนอก ซ่ึงเปนความรูสึกที่เกิดจากความสําเร็จหรือการแกปญหามากกวารางวัลที่ไดรับภายนอก

ออซูเบล(Ausubel) นักจิตวิทยาแนวปญญานิยมไดใหความสําคัญเกี่ยวกับโครงสรางทางปญญาที่เกี่ยวของกับการรับรูของมนุษย และไดแบงการรับรูออกเปน 4 ประเภท คือ

1. การเรียนรูโดยเรียนรูอยางมีความหมาย 2. การเรียนรูโดยการจํา 3. การเรียนรูโดยการคนพบอยางมีความหมาย 4. การเรียนรูโดยการคนพบแบบทองจํา การเรียนรูทั้ง 4 รูปแบบนี้ ออซูเบลไดเนนความสําคัญของการเรียนรูอยางมี

ความหมาย และพยายามที่จะสรางหลักการเพื่ออธิบายกระบวนการเรียนรูดังกลาว หลักการดังกลาวนี้ ออซูเบล เชื่อวาจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย โดยเรียนหลักการดังกลาวนี้วา การจัดวางโครงสรางเนื้อหา หลักการสําคัญประการหนึ่งที่นักจิตวิทยาในกลุมนี้มิไดกลาวถึง คือ การสรางความตั้งใจใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียนกอนเริ่มเรียน ความรูตางๆ จะตองถูกจัดใหมีระบบและสอดคลองกับการเรียนรู โครงสรางของเนื้อหาควรตองไดรับการจัดเตรียมหรือแบงแยกออกเปนหมวดหมู และเห็นความสัมพันธในรูปแบบที่กวางกอนที่จะขยายใหเห็นความคิดรวบยอดในสวนยอย

การประยุกตแนวคิดและทฤษฎีปญญานยิมออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หลักการและแนวคิดของทฤษฎีปญญานิยม สามารถนํามาใชในการออกแบบ

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไดดังนี้

Page 31: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

19

1. ใชเทคนิคเพื่อสรางความสนใจแกผูเรียนกอนเริ่มเรยีน โดยการผสมผสานขอมูลและการออกแบบ Title ที่เราความสนใจ

2. ควรสรางความนาสนใจในการศึกษาบทเรียนอยางตอเนื่อง ดวยวิธีการและรูปแบบที่แตกตางกนัอกไป

3. การใชภาพและกราฟกประกอบการสอนควรคํานึงถึงความสอดคลองกับเนื้อหา 4. คํานึงถึงความแตกตางของผูเรียนในแงของการเลือกเนื้อหาการเรียนการเลือกกิจกรรม

การเรียน การควบคุมการศึกษาบทเรียน การใชภาษา การใชกราฟกประกอบบทเรียน 5. ผูเรียนควรไดรับการชี้แนะในรูปแบบที่เหมาะสม หากเนื้อหาที่ศึกษามีความซับซอน

หรือมีโครงสรางเนื้อหาที่เปนหมวดหมูและสัมพันธกัน 6. ควรเปดโอกาสใหผูเรียนทบทวนความรูเดิมที่สัมพันธกับความรูใหมในรูปแบบที่

เหมาะสม 7. สรางแรงจูงใจโดยเนนความพึงพอใจทีเ่กิดขึ้นจากความสําเร็จในการเรียนรู

ทฤษฎีการเรียนรูท่ีเก่ียวกับการสรางและพฒันาสื่อการเรยีนการสอน ในการนําหลักจิตวิทยาการเรียนรูมาใชสราง และพัฒนาเทคโนโลยีการสอนเพื่อใหเกิด

ประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ไดมีแนวคิดของนักจิตวิทยาการเรียนรูที่เกี่ยวของกับการสรางและพัฒนาส่ือการเรียนการสอนที่ใชกันอยางกวางขวาง คือ

ทฤษฎีการเรียนรูของ Gagne′ ซ่ึงนิยามการเรียนรูวาการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพ (capability) หรือความสามารถของมนุษยที่สามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมบางประการที่แสดงออก การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากการที่มนุษยไดรับประสบการณการเรียนรูในระยะหนึ่ง ซ่ึง Gagne′ จําแนกประเภทของการเรียนรูพื้นฐานออกเปน 8 ลักษณะ คือ

1. การเรียนรูสัญญาณ (Signal learning) เปนการเรียนรูขั้นพื้นฐานเกิดขึ้นโดยผูเรียนมี ปฏิกิริยาตอบสนองสิ่งเราที่เปนเงื่อนไขอยางทันทีทันใด และจากการเรียนรูเมื่อกระทําซํ้าหลายๆ คร้ังบนเงื่อนไขเดียวกัน การเรียนสัญญาณเปนประเภทเดียวกันกับทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Pavlov

2. การเรียนรูจากสิ่งเราและการตอบสนอง (Stimulus response learning) เปนการเรียนรูที่เกิดขึ้นจากการตอบสนองตอส่ิงเราอยางตั้งใจหรือจําเพาะเจาะจงโดยอาศัย

2.1 กระทําซํ้าบอยๆ 2.2 ตอบสนองใหถูกตองเพิม่ขั้นเรื่อยๆ 2.3 การควบคมุส่ิงเราจะเพิ่มความถูกตองของการตอบสนองไดมากขึน้

Page 32: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

20

2.4 การเสริมแรง หรือการใหรางวัล ซ่ึงการเรียนรูประเภทนี้ คลายกับทฤษฎีการเรียนรูแบบอาการกระทํา(Operant

conditioning) ของ Skinner และทฤษฎีการเรียนรู (instrumental conditioning leaning) ของ Thorndike 3. การเรียนรูเชื่อมโยง (Simple chaining learning) เปนการเรียนรูที่จะตองมีการกระทําเชื่อมโยงตอเนื่องระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองตั้งแตสองคูขึ้นไป โดยมากเปนการเรียนรูดานทักษะ 4. การเรียนรูโดยใชภาษา (Verbal association learning) การเรียนรูจะเกิดขึ้นจากความสัมพันธของการใชถอยคํา หรือภาษาตอบสนองสิ่งเรา จนเกิดเปนภาษาขึ้นมาเรียกสิ่งตางๆ 5. การเรียนรูความแตกตาง (Discrimination learning) เปนการเรียนรูที่จะตองมีความ เขาใจอยางกวางขวาง ลึกซ้ึงตามลําดับขั้นตางๆ ที่จะเรียนรูจนสามารถจําแนกความแตกตางที่มีอยูของสิ่งเราทั้งหลายได เชน สามารถแยกสิ่งตางๆ ของพืชและสัตว และเรียกไดถูกตอง 6. การเรียนรูมโนทัศน (Concept learning) โดยมโนทัศนจะมีอยู 2 ลักษณะ คือ มโนทัศนแบบนามธรรม และมโนทัศนแบบรูปธรรม มโนทัศนแบบนามธรรมเปนมโนทัศนที่ เกี่ยวกับสัญลักษณหรือส่ิงแทนของจริงตางๆ สวนมโนทัศนแบบรูปธรรมเกิดจากการสังเกตและรวมกิจกรรม จากสภาพการณที่จัดเปนแบบรูปธรรม ดังนั้นการเรียนรูมโนทัศนจึงเกิดขึ้นไดตาม จุดมุงหมายที่เราตั้งไว โดยเรียนรูผานทางสภาพการณ การเรียนรูเพื่อใหเกิดการตอบสนองจนสามารถสรุปหลักการและจุดมุงหมายจากสิ่งแวดลอม 7. กฎการเรียนรู (Rule learning) เปนการเรียนรูที่เกิดจากการนําเอามโนทัศนจํานวนหนึ่งมาสัมพันธกันอยางมีลําดับตอเนื่องกันอยางชัดเจน แลวสรางเปนขอสรุปหรือกฎที่มี ความหมายใหมขึ้นมาและสามารถนําไปอธิบายกับเหตุการณตางๆ ได 8. การเรียนรูแกปญหา (Problem solving learning) เปนการเรียนรูขั้นสูงสุดที่เกิดจากการนํากฎหรือหลักการเบื้องตนตางๆ ที่สรางขึ้นมาจากหลักการนําไปสูกระบวนการคิดใหมๆ เกิดการคิดและขยายแนวคิด จนสามารถนําหลักการนั้นไปใชอยางสรางสรรคและสามารถแกปญหาได

จากการเรียนรูดังกลาว Gagne′ ไดเนนบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนเพื่อกระตุนนักเรียนไหทํากิจกรรมตางๆ และไดเสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเปน 9 ขั้นดังนี้ 1. การเรียกความสนใจ (Gaining attention) เพื่อนําเขาสูบทเรียนนักเรียนพรอมที่จะเรยีนโดยการเลือกส่ิงเรา เชนรูปภาพ ภาพยนตร การใชคําถาม การสาธิต และการนําเสนอสิ่งเรานั้นเพื่อเรียกรองความสนใจ

Page 33: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

21

2. การบอกใหผูเรียนทราบจุดประสงคการสอน (Information the learner of the objective) เพื่อใหผูเรียนทราบวัตถุประสงคปลายทางของการเรียนการสอนเปนแนวทางสู จุดประสงคนั้น การบอกจุดประสงค อาจบอกใหทราบโดยตรงหรือการบอกโดยการใชคําถามก็ได 3. การกระตุนใหผูเรียนทราบจุดประสงคการสอน (Stimulating recall of prerequisite learning) อาจใชคําถามหรือบรรยายเพื่อทบทวนความรูเดิมแลวนําไปเชื่อมโยงกับความรูใหมใหมีความพรอมที่จะเรียนตอไป 4. การเสนอสิ่งเราที่ประกอบการสอน (Presentation the stimulus) ไดแก วัสดุ อุปกรณและส่ือการสอนอื่นๆ 5. การชี้แนะการเรียนรู (Providing learning guidance) อาจใชคําถามนําไปสูการเรียนรู การแนะนําการใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือตางๆ 6. จัดใหผูเรียนไดแสดงพฤติกรรม (Eliciting the performance) คือ ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรม ผูสอนคอยใหความสะดวกจัดเตรียมเครื่องมือใหพรอมกับการปฏิบัติการ 7. ใหขอมูลปอนกลับเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม (Providing feedback) เพื่อให ผู เ รียนทราบวาการทํากิจกรรม หรือการปฏิบัติการทดลองไดผลถูกตองดีหรือตองแกไข เปลี่ยนแปลงเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูตามจุดประสงคที่กําหนดไว 8. การวัดผลการเรียน (Assessing the performance) การวัดผลการเรียนรูของผูเรียนในการทํากิจกรรมอาจทําไดโดยการใชคําถาม ใหทําแบบฝกหัด หรือทําขอสอบ ซ่ึงวัดไดในขณะที่เรียนและเมื่อส้ินสุดการเรียนเพื่อปรับปรุงแกไข

9. การทําใหผูเรียนคงทนความรู (Enhance retention and transfer) คือการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติซํ้า ๆ กัน เพื่อใหมีความคงทน ใหมีการทบทวนและนําความรูไปใชในสถานการณใหม ๆ เพื่อถายโยงการเรียนรู

การสอนทั้ง 9 ขั้นดังที่กลาวแลวเปนประโยชนตอนักเทคโนโลยีการศึกษา ในการออกแบบและพัฒนาการสอนในเชิงปฏิบัติ ทฤษฎีและหลักการเรียนรูตามแนวของ Gagne′ ไดรับความสนใจและนํามาใชในงานดานเทคโนโลยีการสอนอยางกวางขวาง (ไชยยศ เรืองสุวรรณ 2533 : 66)

3. เอกสารที่เก่ียวกับการศึกษาเปนรายบุคคล

รูปแบบของการเรียนการสอนโดยทั่วไปๆ แบงออกเปน 3 ลักษณะใหญๆ ไดดังนี้ แบบกลุมใหญเปนการสอนในหองเรียน ซ่ึงลักษณะการสอนเปนแบบสื่อความหมายดานเดียว เชนการ

Page 34: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

22

บรรยายหนาหองเรียน หรือการบรรยายในที่ประชุมใหญ แบบกลุมยอย เปนการเรียนเปนกลุมที่ ผูเรียนสามารถตอบโตได เปนการสอนแบบการสื่อความหมาย 2 ทาง เปนการสอนในกลุมเล็กๆ หรือกลุมยอย สอนแบบทบทวนบทเรียน ระดมสมอง สวนลักษณะที่สามเปนการสอนแบบรายบุคคล คือ คือการเรียนการสอนเปนรายบุคคลตามความสามารถเฉพาะตน ความหมายของการศึกษารายบุคคล

การศึกษาแบบนี้เปนลักษณะการเรียนการสอนที่จัดใหเหมาะสมกับความสามารถของ แตละบุคคล โดยผูเรียนสามารถจะเรียนดวยตนเองจากสื่อตางๆ เชนคอมพิวเตอร ชุดการสอน บทเรียนสําเร็จรูป เปนตน การศึกษารายบุคคลไดมีผูใหความคิดดานตางๆ ดังนี้

ประกายวรรณ มณีแจม (2536 : 49) กลาววา การจัดการศึกษาแนวใหมจะตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Difference) ซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ วัฒนธรรมรวมทั้งประสบการณและความสามารถที่ตางกัน จึงทําใหเกิดการเรียนรูที่แตกตางกันดวย เหตุนี้จึงมีผูคิดวิธีการจัดการศึกษาตามความสามารถของแตละคนขึ้น เพื่อชวยให ผูเรียนไดเรียนตามความสามารถของตน และเรียกวา การศึกษารายบุคคลหรือการศึกษาเอกัตภาพ

สุรางค โควตระกูล (2533 : 227) กลาววา เปนการสอนนักเรียนตัวตอตัวทีละคน หรือการสอนนักเรียนกลุมหนึ่งที่มีลักษณะคลายคลึงกันทางระดับสติปญญา ความสามารถ ความตองการ และแรงจูงใจ โดยครูจัดวัตถุประสงคเฉพาะของหนวยการเรียนหรือบทเรียนพรอมทั้ง เนื้อหาและอุปกรณ เมื่อนักเรียนเรียนจบหนวยการเรียน จะไดรับการทดสอบเพื่อจะทราบวาได เรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม

จริยา เหนียนเฉลย (2535 : 5) ใหความหมายไววา การเรียนรูเปนรายบุคคลตามความสามารถเฉพาะตน โดยผูเรียนจะสามารถประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองจากสื่อนานาประเภท เชน บทเรียนสําเร็จรูป เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องวีดิทัศน สไลด รูปภาพ ฟลมสตริป เทปเสียง และจากชุดการสอน เปนตน

กิดานันท มลิทอง (2540 : 116) ไดใหความหมายของการสอนแบบรายบุคคลไววา ความสัมพันธระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองและการเสริมแรงเปนสิ่งสําคัญ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อนําผูเรียนไปสูการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพซึ่งอาศัยการสอนที่มีการวางโปรแกรมไวลวงหนา เปนการใหผูเรียนมีโอกาสเรียนรูไดดวยตนเอง โดยไดรับผลปอนกลับทันทีและใหผูเรียนไดเรียนไปทีละขั้นตอนอยางเหมาะสมตามความตองการและความสามารถของตน

สรุปไดวา การศึกษารายบุคคลหรือการศึกษาแบบเอกัตภาพ(Individualized Instruction) หมายถึง วิธีการเรียนที่มีโครงสรางและระบบที่สามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนได

Page 35: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

23

ผูเรียนมีอิสระที่จะเลือกเรียนตามสถานที่และเวลาในการเรียนแตละบท แตตองจํากัดอยูภายใต โครงสรางของบทเรียนนั้น วัตถุประสงคการจัดการเรียนการสอนรายบุคคล

ในการจดัการเรียนการสอนรายบุคคล จะตองยึดหลักปรชัญาทางการศึกษา และจิตวทิยาการเรียนรู เพือ่หาวิธีการจดัการเรียนการสอนใหเหมาะกบัผูเรียน วัตถุประสงคในการจัดการเรียนการสอนรายบคุคลจึงมุงไปสูผูเรียนเปนหลัก เสาวนยี สิกขาบัณฑิต (2536 : 23 – 25) กลาวถึง วัตถุประสงคในการจัดการเรียนการสอนรายบุคคล สรุปไดดังนี ้

1. การเรียนการสอนรายบุคคล มุงสนับสนุนใหผูเรียนรูจักรับผิดชอบในการเรียนรู รูจักแกปญหา และตัดสินใจเอง 2. การเรียนการสอนรายบุคคล สนองความแตกตางของผูเรียน นั่นคือผูเรียนทุกคนยอมมีความแตกตางกัน ไมวาในดานบุคลิกภาพ สติปญญา หรือความสนใจ โดยเฉพาะความแตกตางที่มีผลตอการเรียนรูที่สําคัญ 4 ประการคือ 2.1 ความแตกตางในดานอัตราเร็วของการเรียนรู (Rate of learning) ผูเรียนแตละคนจะใชเวลาในการเรียนรูและทําความเขาใจในสิ่งเดยีวกันในเวลาที่ตางกนั 2.2 ความแตกตางในเรื่องความสามารถ (Ability) เชนความฉลาด ความสามารถพิเศษตางๆ 2.3 ความแตกตางในเรื่องวิธีการเรียน (Style of learning) ผูเรียนเกดิการเรียนรูในวิธีการที่แตกตางกัน 2.4 ความแตกตางในเรื่องความสนใจและความชอบ (Interests and preference) 3. การเรียนการสอนรายบุคคล เนนเสรีภาพการเรียนรู ถาผูเรียนเรียนดวยความอยากเรียน เรียนดวยความกระตือรือรนที่เกิดขึ้นเอง ผูเรียนจะเกิดแรงจูงใจและเกิดการกระตุนใหพัฒนาการเรียนรู โดยครูไมจําเปนตองทําโทษ หรือใหรางวัล ผูเรียนจะรูจักตนเอง มีความมั่นใจในการที่จะกาวไปขางหนาตามความพรอมและความสามารถของตนเอง 4. การเรียนการสอนรายบุคคล ขึ้นอยูกับกระบวนการและวิธีการที่เสนอความรูใหแก นักเรียน การเรียนการสอนแบบนี้เชื่อวาการเรียนรูเปนปรากฏการณสวนตัวที่เกิดขึ้นในแตละบุคคล การเรียนรูจะเกิดขึ้นเร็วหรือชาและจะเกิดขึ้นกับผู เ รียนนานหรือไม นอกจากจะขึ้นอยูกับความสามารถและความสนใจของผูเรียน ดังนั้นในการกําหนดใหผูเรียนไดเรียนรูในเรื่องหนึ่งๆ ในระยะเวลาหนึ่ง และเรียนรูดวยวิธีการเดียว จะเปนการไมยุติธรรมแกผูเรียน ผูเรียนควรจะไดเปนผูกําหนดเวลาดวยตนเอง

Page 36: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

24

5. การเรียนการสอนรายบุคคล มุงแกปญหาความยากงายของบทเรียนเปนการสนองตอบที่วาการศึกษาควรมีระดับแตกตางกันไปตามความยากงาย การจัดการเรียนการสอนรายบุคคลมุงสอนผูเรียนตามความแตกตางระหวางบุคคล โดยคํานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความพรอม ความถนัด ในการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุ เปาหมายที่วางไว ควรวางขั้นตอนในการดําเนินงาน กําหนดการเรียนการสอนใหเหมาะกับผูเรียน ประเภทของการศึกษารายบคุคล

กาเยและบริกกส (Gagne′and Briggs 1974 : 187) ไดแบงประเภทของการจัดการศึกษารายบุคคล ออกไดดังนี้ คือ

1. การเรียนแบบอิสระ (Independent Study Plans) เปนการศึกษารายบุคคลสมบูรณแบบที่สุด เพราะสามารถใหประสบการณในการเรียนรูไดมากที่สุด ผูเรียนและผูสอนตองตกลงกันในเร่ืองของวัตถุประสงค แลวผูเรียนไปศึกษาคนควาใหบรรลุตามวัตถุประสงคนั้นดวยตนเอง นิยมใชกับผูเรียนชั้นสูงๆ เนื่องจากอายุมากพอควรที่จะรับผิดชอบตนเองไดแลว

2. การเรียนแบบผูเรียนกําหนดเอง (Student Determined Instruction) เปนการศึกษารายบุคคลที่มุงใหผู เ รียนเลือกจุดมุงหมายดวยตนเอง ผู เรียนมีอิสระที่จะเรียนหรือไมเรียนจุดมุงหมายใดก็ได

3. การเรียนแบบยืดหยุนตามความสามารถของแตละบุคคล (The Personalized System of Instruction) เปนการศึกษารายบุคคลที่สนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนเร็วหรือชาตามความสามารถแตละบุคคล โดยการแบงเนื้อหาออกเปนหนวยยอยแตละหนวยจะมีคําแนะนําซ่ึงบอกจุดประสงคและกรรมวิธีที่จะบรรลุจุดประสงคนั้นๆ

4. การเรียนแบบกําหนดตามความแตกตางระหวางบุคคล (Individually Prescribed Instruction) โดยนําหลักสูตรทั้งหมดมาแบงออกเปนหนวยเล็กๆ ในแตละหนวยจะมีจุดมุงหมายเฉพาะและการทดสอบที่แตกตางกัน ผูเรียนตองรับการทดลองกอนเรียนเพื่อใหทราบระดับความสามารถของแตละคน จากนั้นจึงใหผูเรียนไดเรียนตามความตองการของตน ขั้นตอนการดาํเนินงานการจัดการเรียนการสอนรายบุคคล

เพื่อใหการเรียนการสอนรายบุคคลบรรลุเปาหมาย ครูควรวางขั้นตอนในการดําเนินงานในการจัดการเรียนการสอน ดังที่ เสาวนีย สิกขาบัณฑิต (2536 : 26 – 27) กลาวสรุปไวดังนี้ 1. ศึกษาปญหาและความตองการของผูเรียน 2. กําหนดหลกัสูตร โดยถือหลักการจัดประสบการณที่มผูีเรียนเปนศนูยกลาง

Page 37: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

25

3. กําหนดจุดมุงหมาย โดยยึดหลักความแตกตางระหวางบุคคลและมุงใหผูเรียนกาวหนาตามความสามารถ ความสนใจ และความพรอมของตนเอง 4. กําหนดเนือ้หาและประสบการณ โดยการนําหลักสูตรมาแบงเนื้อหา เปนตอน บท หนวย และกําหนดความคิดรวบยอดใหเดนชัด 5. กําหนดแผนการเรียนการสอน เพื่อใหผูใชดําเนนิการไดถูกตอง 6. กําหนดวิธีการเรียนการสอน รวมทั้งส่ือ และกิจกรรมที่ใชในบทเรยีนนั้นๆ 7. ประเมินความกาวหนา กาํหนดแนวการประเมินผลไวใหเรียบรอย ทั้งกอนเรียนและหลังเรียนตลอดจนการรายงานความกาวหนาในการเรียนไวอยางชัดเจน ขอดีและขอจํากัดของการศึกษารายบุคคล

นักการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงกลาวถึงขอดีและขอจํากัดของการศึกษารายบุคคล สรุปไดดังนี้ (วีระ ไทยพานิช 2529; ประกายวรรณ มณีแจม 2536; กิดานันท มลิทอง 2540)

ขอดีของการศึกษารายบุคคล 1. เปนการศึกษาที่ใหความสําคัญและคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

2. ผูเรียนสามารถเรียนไดเร็วหรือชาตามความสามารถและความสนใจของแตละคน 3. ผูเรียนมีอิสระในการเรียนมากกวาการเรียนการสอนตามปกติ 4. สามารถจูงใจใหผูเรียนชอบบรรยากาศในการเรียนและโรงเรียนมากขึ้น 5. ครูผูสอนมีเวลาที่จะทํางานและใหความสนใจกับผูเรียนเปนรายบุคคลไดมากขึ้น 6. ผูเรียนสามารถเลือกเรียนไดดวยชุดการเรียนที่จัดเปนแตละเนื้อหาของบทเรียน 7. ส่ือที่ใชในการศึกษาไดรับการทดสอบและการทดลองมากอนแลววาสามารถที่จะใช เรียนไดอยางมปีระสิทธิภาพ 8. ส่ือที่ใชในการศึกษามีหลายชนิดใหเลือกและมักใชในรูปสื่อประสม ซ่ึงสื่อบางรูปแบบสามารถมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนไดดวย เชน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน

ขอจํากัดของการศึกษารายบคุคล 1. กรณีที่ผูเรียนมีอายุนอยและยังไมมีประสบการณเพียงพอที่จะควบคุมการเรียนของ

ตนเองได อาจทําใหการเรียนไมประสบความสําเร็จได 2. ผูสอนตองมีความรูในการจัดเตรียมส่ือการเรียนการสอนในแตละวิชาใหเหมาะสมกับ

ผูเรียน โดยตองคํานึงถึงบุคลิกภาพแดละความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนแตละคนดวย 3. วิชาที่เรียนโดยการเรียนรายบุคคลมีจํานวนจํากัด เนื่องจากบางวิชาไมสามารถที่จะให

ผูเรียนเรียนไดอยางลึกซึ้งไดดวยตนเอง

Page 38: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

26

4. ในกรณีที่ผูสอนไมมีเวลาใหแกผูเรียนไดมากพอ จะทําใหผูเรียนรูสึกเหมือนถูกปลอยใหอยูโดดเดี่ยว อาจสงผลใหการเรียนลมเหลวได

สําหรับการศึกษารายบุคคลที่กล าวมาขางตนพอสรุปไดว า บุคคลแตละคนมีความสามารถแตกตางกันทั้งทางดานรางกาย ความคิดและสติปญญา ความสามารถดานตางๆ ของแตละบุคคลจึงแตกตางกันไปดวย ดานการศึกษาก็เชนกัน ผูเรียนแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูไมเทากันและการจัดใหผูเรียนไดเรียนรูดวยวิธีการตางๆ ตามสติปญญาและความสามารถของผูเรียนจะชวยสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนตามความสามารถโดยไมมีความกังวลใจ การศึกษารายบุคคลเปนการประยุกตใชรวมกันระหวางเทคนิคและสื่อการสอน จึงชวยเสริมประสิทธิภาพในการเรียนของ ผูเรียนที่ตองการศึกษาดวยตนเองเปนอยางดี

4. เอกสารและเนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึง

ถือเปนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามมาตรา 27 วรรคแรกแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นําสาระและมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตรไปจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (กรมวิชาการ 2546 :7)

ความสําคัญของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดํารงชีวิตประจําวันและในงานอาชีพตางๆ เครื่องมือเครื่องใช ตลอดจนผลผลิตตางๆ ที่ใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและในการทํางาน ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอ่ืนๆ ความรูวิทยาศาสตรชวยใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็มีสวนสําคัญมากที่จะใหมีการศึกษาคนควาความรูทางวิทยาศาสตรเพิ่มขั้นอยางไมหยุดยั้ง

วิทยาศาสตรทําใหคนไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คดิวเิคราะหวิจารณ มีทักษะที่สําคัญในการคนควาหาความรู มีความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลหลากหลายและประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปน วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม ซ่ึงเปนสังคมแหงการเรียนรู (Knowledge based society) ทุกคนจึง

Page 39: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

27

จําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร (scientific literacy for all) เพื่อท่ีจะมีความรูความเขาใจโลกธรรมชาติเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น และนําความรูไปใชอยางมี เหตุผล สรางสรรค มีคุณธรรม ความรูวิทยาศาสตรไมเพียงแตนํามาใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี แตยังชวยใหคนมีความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชประโยชน การดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุลและยั่งยืนและที่สําคัญอยางยิ่ง คือ ความรูวิทยาศาสตรชวยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถแขงขันกับนานาประเทศและดําเนินชีวิตอยูรวมกันในสังคมโลก ไดอยางมีความสุข การที่จะสรางความเขมแข็งทางดาน วิทยาศาสตรนั้นองคประกอบที่สําคัญประการหนึ่งคือการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนใหอยูในสังคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนทั้งผูผลิตและผูบริโภคที่มีประสิทธิภาพ (สถาบันสงเสริมการสอน-วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2546 : 1-2 ) ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตรไดมาดวยความพยายามของมนุษยที่ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Scientific process) ในการสืบเสาะหาความรู (Scientific inquiry) การแกปญหา โดยผานการสังเกต การสํารวจตรวจสอบ (investigation) การศึกษาคนควาอยางมรีะบบ และการสืบคนขอมูล ทําใหเกดิองคความรูใหมเพิ่มพูนตลอดเวลาความรูและกระบวนการดังกลาวมีการถายทอดตอเนื่องกันเปนเวลายาวนาน ความรูวิทยาศาสตรตองสามารถอธิบายและตรวจสอบได เพื่อนํามาใชอางอิงทั้งในการสนับสนุนหรือโตแยงเมื่อมีการคนพบขอมูล หรือหลักฐานใหม หรือแมแตขอมูลเดิมเดียวกันก็อาจความขัดแยงขึ้นไดถานักวิทยาศาสตรแปลความหมายดวยวิธีการหรือแนวคิดที่แตกตางกัน ความรูวิทยาศาสตรจึงอาจเปลี่ยนแปลงได วิทยาศาสตรเปนเรื่องที่ทุกคนสามารถมีสวนรวมไดไมวาจะอยูในสวนใดของโลก วิทยาศาสตรจึงเปนผลจากการสรางเสริมความรูของบุคคล การสื่อสารและการเผยแพรขอมูลเพื่อใหเกิดความคิดในเชิงวิเคราะหวิจารณ มีผลใหความรูวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้งและสงผลตอคนในสังคมและสิ่งแวดลอม การศึกษาคนควาและการใชความรูทางวิทยาศาสตรจงึตองอยูในขอบเขต คุณธรรม จริยธรรม เปนที่ยอมรับของสังคม และเปนการรักษาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ความรูวิทยาศาสตรเปนพื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีเปนกระบวนการในงานตางๆ หรือกระบวนการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภัณฑ โดยอาศัยความรูวิทยาศาสตรรวมกับศาสตรอ่ืน ๆ ทักษะ ประสบการณ จิตนาการและความคิดริเริ่มสรางสรรคของมนุษย โดยมีจุดมุงหมายที่จะใหไดผลิตภัณฑที่ตอบสนองความตองการ และแกปญหาของมวลมนุษย เทคโนโลยี

Page 40: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

28

เกี่ยวของกับทรัพยากร กระบวนการ และระบบการจัดการ จึงตองใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอสังคมและสิ่งแวดลอม เปาหมาย วิสยัทัศนและคุณภาพ

เปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยเฉพาะมนุษยใชกระบวนการ สังเกต สํารวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติและนําผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหผูเรียนไดเปน ผูเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด นั่นคือใหไดทั้งกระบวนการและองคความรู ตั้งแตวัยเร่ิมแรกกอนเขาเรียน เมื่ออยูในสถานศึกษาและเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแลว การจัดการเรยีนการสอนวิทยาศาสตรในสถานศึกษามีเปาหมายสําคัญดังนี ้

1. เพื่อใหเขาใจหลักการ ทฤษฎีที่เปนพืน้ฐานในวิทยาศาสตร 2. เพื่อใหเขาใจ ธรรมชาติ และขอจํากัดของวิทยาศาสตร 3. เพื่อใหมีทกัษะที่สําคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี 4. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจนิตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการ

จัดการ ทักษะในการสื่อสาร และสามารถในการตัดสินใจ 5. เพื่อใหตระหนกัถึงความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษยและ

สภาพแวดลอมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน 6. เพื่อนําความรูความเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชใหเกดิประโยชน

ตอสังคมและการดํารงชีวิต 7. เพื่อใหเปนคนมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใช

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรค วิสัยทัศนการเรียนรูวิทยาศาสตร

วิสัยทัศนเปนมุมมองภาพในอนาคตที่มุงหวังวาจะมีการพัฒนาอะไร อยางไรซึ่ง สอดคลองกับการปรับเปล่ียนของสังคม วิสัยทัศนการเรียนรูวิทยาศาสตรกําหนดไวเพื่อเปน แนวทางใหผูบริหารสถานศึกษา ผูสอน บุคลากรทางการศึกษา ผูเรียนและชุมชนรวมกันพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตรและปฏิบัติรวมกันสูความสําเร็จ

Page 41: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

29

ในการกําหนดวิสัยทัศนการเรียนรูวิทยาศาสตรใชกรอบความคิดในเรื่องของการพัฒนาการศึกษา เพื่อเตรียมคนในสังคมแหงความรูและสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ดังนี้

• หลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจะเชื่อมโยงเนื้อหา แนวคิดหลัก และ กระบวนการที่เปนสากล แตมีความสอดคลองกับชีวิตจริงทั้งระดับทองถ่ินและระดับประเทศ และมีความยืดหยุน หลากหลาย

• หลักสูตรการเรียนการสอนตองตอบสนองผูเรียนที่มีความถนัดและความสนใจ แตกตางกันในการใชวิทยาศาสตรสําหรับการศึกษาตอและการประกอบอาชีพที่เกี่ยวของกับ วิทยาศาสตร

• ผูเรียนทุกคนจะไดรับการสงเสริมใหพัฒนากระบวนการคิด ความสามารถในการ เรียนรู กระบวนการสืบเสาะหาความรู กระบวนการแกปญหา และการคิดคนสรางสรรคองคความรู

• ใชแหลงเรียนรูในทองถ่ิน โดยถือวามีความสําคัญควบคูกับการเรียนในสถานศึกษา • ใชยุทธศาสตรการเรียนการสอนหลากหลายเพื่อตอบสนองความตองการ ความสนใจ

และวิธีเรียนที่แตกตางกันของผูเรียน • การเรียนรูเปนกระบวนการสาํคัญที่สุดที่ทุกคนตองไดรับการพัฒนา เพือ่ใหสามารถ

เรียนรูตลอดชวีิต จึงจะประสบความสําเร็จในการดําเนนิชีวิต • การเรียนการสอนตองสงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหมีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม

คานิยมที่เหมาะสมตอวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอม

วิสัยทัศนการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนรูวิทยาศาสตรเปนการพัฒนาผูเรียนใหไดรับทั้งความรูกระบวนการและเจตคติ

ผูเรียนทุกคนควรไดรับการกระตุนสงเสริมใหสนใจและกระตือรือรนที่จะเรียนรูวิทยาศาสตร มีความสงสัยเกิดคําถามในสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวกับโลกธรรมชาติรอบตัว มีความมุงมั่นและมีความสุขที่จะศึกษาคนควา สืบเสาะหาความรูเพื่อรวบรวมขอมูล วิเคราะหผล นําไปสูคําตอบของคําถาม สามารถตัดสินใจดวยการใชขอมูลอยางมีเหตุผล สามารถสื่อสารคําถาม คําตอบ ขอมูลและสิ่งที่คนพบจากการเรียนรูใหผูอ่ืนเขาใจได

การเรียนรูวิทยาศาสตรเปนการเรียนรูตลอดชีวิต เนื่องจากความรูวิทยาศาสตรเปน เร่ืองราวเกี่ยวกับโลกธรรมชาติ (Natural world) ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทุกคนจึงตอง เรียนรูเพื่อนําผลการเรียนรูไปใชในชีวิตและการประกอบอาชีพ เมื่อผูเรียนไดเรียนวิทยาศาสตรโดยไดรับการกระตุนใหเกิดความตื่นเตน ทาทายกับการเผชิญสถานการณหรือปญหา มีการคิดรวมกัน

Page 42: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

30

ลงมือปฏิบัติ ก็จะเขาใจและเห็นความเชื่อมโยงของวิทยาศาสตรและวิชาอ่ืนและชีวิต ทําใหสามารถอธิบาย ทํานาย คาดการณส่ิงตาง ๆ ไดอยางมีเหตุผล การประสบความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตรจะเปนแรงกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจ มุงมั่นที่จะสังเกต สํารวจตรวจสอบ สืบคนความรูที่มีคุณคาเพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้ง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงตองสอดคลองกับสภาพจริงในชีวิต โดยใช แหลงเรียนรูหลากหลายในทองถ่ิน และคํานึงถึงผูเรียนที่มีวิธีการเรียนรู ความสนใจและความถนัดแตกตางกัน การเรียนรูวิทยาศาสตร เปนการเรียนรูเพื่อความเขาใจ ซาบซึ้งและเหน็ความสําคัญของธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ซ่ึงจะสงผลใหผูเรียนสามารถเชื่อมโยงองคความรูหลายๆ ดาน เปนความรูแบบองครวม อันจะนาํไปสูการสรางสรรคส่ิงตาง ๆ และพัฒนาคุณภาพชวีิต มีความสามารถในการจดัการ และรวมกันดแูลรักษาโลกธรรมชาติอยางยั่งยืน(กรมวิชาการ 2546 : 2)

คุณภาพผูเรียน การจัดการศึกษาวิทยาศาสตรสําหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงหวังใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เนนกระบวนการไปสูการสรางองคความรู โดยผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนทุกขั้นตอน ผูเรียนจะไดทํากิจกรรมหลากหลาย ทั้งเปนกลุมและรายบุคคล โดยอาศัยแหลงการเรียนรูที่เปนสากลและทองถ่ิน โดยผูสอนมีบทบาทในการวางแผนการเรียนรู กระตุน แนะนํา ชวยเหลือใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เพื่อใหการศึกษาวิทยาศาสตรบรรลุผลตามเปาหมายและวิสัยทัศนที่กลาวไว จึงไดกําหนดคุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตรที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ช้ันป และแตละชวงชั้นไวดังนี้ คุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตรท่ีจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ชั้นป

1. เขาใจเกีย่วกับสิ่งมีชีวิตกบักระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ และสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

2. เขาใจสมบตัิของสารและการเปลี่ยนแปลงของสาร แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน 3. เขาใจโครงสรางและสวนประกอบของโลก ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ

ดาราศาสตรและอวกาศ 4. ใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู กระบวนการแกปญหาในการเรียนรูวิทยาศาสตร

ดวยการลงมือปฏิบัติจริง ศึกษาคนควา สืบคนจากแหลงเรียนรูหลากหลาย และจากเครือขาย อินเทอรเน็ตและสื่อสารความรูในรูปแบบตางๆ ใหผูอ่ืนรับรู

5. เชื่อมโยงความรูความคิดกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร นําไปใชในการดํารงชีวิตและศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานวิทยาศาสตร หรือสรางชิ้นงาน

Page 43: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

31

5.1 มีเจตคติทางวิทยาศาสตร หรือจิตวิทยาศาสตร ดังนี้ - ความสนใจใฝรู - ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ - ซ่ือสัตย ประหยัด - การรวมแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟงความคิดเหน็ของผูอ่ืน - ความมีเหตุผล - การทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางสรางสรรค

5.2 มีเจตคติ คุณธรรม คานิยมที่ดีตอวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม - มีความพอใจ ความซาบซึ้ง ความสุขในการสืบเสาะหาความรูและรักที่

จะเรียนรูตอเนือ่งตลอดชีวิต - ตระหนกัถึงความสําคัญและประโยชนของวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีที่ใชในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ - ตระหนักวาการใชความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีผลตอชีวิตและ

ส่ิงแวดลอม - แสดงความชื่นชม ยกยองและเคารพในสิทธิและผลงานที่ผูอ่ืนและตนเอง

คิดคนขึ้น - แสดงความซาบซึ้ง ในความงามและตระหนักถึงความสําคัญของ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในโรงเรียนและในทองถ่ิน

- ตระหนกัและยอมรับความสําคัญของการใชเทคโนโลยใีนการเรยีนรู และการทํางานตางๆ

คุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตรเม่ือจบชวงชั้นท่ี 2 (ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 – 6) ผูเรียนที่เรียนจบชวงชั้นที่ 2 ควรมีความรู ความคิด ทกัษะ กระบวนการและจิตวทิยา-

ศาสตร ดังนี้ 1. เขาใจโครงสรางและการทํางานของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธของ

ส่ิงมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดลอมทีแ่ตกตางกัน 2. เขาใจสมบตัิของวัสดุ สถานะของสาร การแยกสาร การทําใหสารเกดิการเปลี่ยนแปลง 3. เขาใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทํากบัวัตถุ หลักการเบื้องตนของแรงลอยตัว สมบัติ

และปรากฏการณเบื้องตนของแสง เสียง และวงจรไฟฟา

Page 44: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

32

4. เขาใจลักษณะ องคประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธของ ดวงอาทิตย โลก และดวงจนัทรที่มีผลตอการเกิดปรากฏการณธรรมชาติ

5. ตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู คาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ วเิคราะหขอมูล และส่ือสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบ

6. ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต และการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือช้ินงานตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ

7. แสดงถึงความสนใจ มุงมัน่ รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู 8. ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกยอง

และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน 9.แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช การดแูลรักษาทรัพยากร

ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางรูคุณคา 10. ทํางานรวมกับผูอ่ืนอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับฟง

ความคิดเหน็ของผูอ่ืน

สาระ สาระที่เปนองคความรูของกลุมวิทยาศาสตร ประกอบดวย สาระที่ 1 ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สาระที่ 3 สารกับสมบัติของสาร สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ 5 พลังงาน สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพืน้ฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเอง และดแูลสิ่งมีชีวิต

Page 45: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

33

มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคญัของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ววิัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มผีลตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มกีระบวนการสบื เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปประโยชน

สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถ่ิน ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับ

ส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนาํความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติ ระดับทองถ่ิน ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับ โครงสราง

และแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกดิปฏิกิริยาเคม ี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําไปใชประโยชน

สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนท่ี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรง

นิวเคลียรมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน อยางถูกตองและมีคุณธรรม

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหารความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชวีิต การเปลี่ยนรูป

พลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสบืเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนาํความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

Page 46: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

34

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความ สัมพันธของกระบวนการตาง ๆที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจววิัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธภายใน

ระบบสุริยะและผลตอส่ิงมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคญัของเทคโนโลยีอวกาศทีน่ํามาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสือ่สาร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิง่แวดลอม

สาระที่ 8 ธรรมชาตขิองวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการสืบ

เสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้น ๆ เขาใจวาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 1. แสดงการขยายพันธุพืชดวยวิธีตางๆ เชน ปกชํา ตอนกิ่ง ติดตา ทาบกิง่ 2. อธิบายการสืบพันธุของพืชดอกและยกตวัอยางการนําไปใชประโยชน 3. อธิบายการสืบพันธุของสัตว ยกตวัอยางการนําความรูไปใชในการขยายพันธุสัตว

และ ดูแลสัตวในทองถ่ิน 4. อธิบายพฤติกรรมของสัตวที่ตอบสนองตอส่ิงแวดลอม 5. อธิบายและระบุลักษณะที่ถายทอดทางพันธุกรรมของคนในครอบครัวและพืชสัตว

ใกลตัว 6. ระบุช่ือในทองถ่ินที่มีดอก ไมมีดอก ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู 7. ระบุสัตวในทองถ่ินที่ไมมีกระดูกสันหลัง และ สัตวมีกระดูกสันหลังและเสนอ

แนวทางอนุรักษและแสดงความเมตตาตอสัตว 8. ระบุและจําแนกประเภทวัสดหุรือส่ิงของในชีวิตประจําวันและเสนอแนะการใช

ประโยชนอยางประหยดั ปลอดภัย

Page 47: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

35

9. ทดลอง และการระบแุละจําแนกประเภท อธิบายสมบัติของวัสดุ ความยดืหยุน ความแข็ง ความเหนยีว การนําความรอน การนําไฟฟา และยกตัวอยางการนําไปใชประโยชน

10. ทดลองและอธิบายสมบัติทั่วไปของ ของแข็ง ของเหลว แกส 11. ทดลองหาแรงลัพธเนื่องจากแรงสองแรงที่กระทํากับวัตถุและยกตัวอยางการใช

ประโยชนของแรงลัพธ 12. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับมวลและความหนาแนน 13. ทดลองและอธิบายความดันของอากาศและความดนัของของเหลว และยกตวัอยาง

การใชประโยชนของความดนั 14. ทดลองและอธิบายแรงลอยตัวของวัตถุในน้ํา 15. ทดลองและอธิบายแรงเสียดทาน ระบแุรงเสียดทานที่เกิดขึ้นจากสถานการณตางๆ

ในชีวิตประจําวัน ทํานายผลที่จะเกดิขึ้นจากแรงเสียดทานและระวังปองกันไมใหเกิดความเสียหายจากแรงเสียดทาน

16. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียงในตัวกลาง 17. ทดลองและอธิบายความดังของเสียง อันตรายที่จะเกิดขึน้และเสนอวิธีการปองกัน 18. อธิบายการเกดิและประโยชนของ เมฆ หมอก ฝน น้ําคาง และลูกเห็บ 19. อธิบายความสัมพันธของอุณหภูมิ ความชื้น และความดันของบรรยากาศ ที่มีผลตอ

วัฏจักรน้ํา 20. อธิบายการเกดิกลางวันกลางคืน ทิศ ปรากฏการณขึ้นตกของดวงดาว

คําอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5

ศึกษาวิเคราะห การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะที่ถายทอดทางพันธุกรรม พืช

มีดอก พืชไมมีดอก พืชใบเลี้ยงเดียว พืชใบเลี้ยวคู สัตวมีกระดูกสันหลัง สัตวไมมีกระดูกสันหลัง การสืบพันธุและการขยายพันธุของพืช การสืบพันธุและการขยายพันธุสัตว พฤติกรรมของสัตวที่ตอบสนองตอส่ิงแวดลอม วัสดุและสมบัติของวัสดุ วัสดุในชีวิตประจําวัน สมบัติของวัสดุ สมบัติทั่วไปของของแข็ง ของเหลว แกส แรงและความดัน แรงลัพธและประโยชนของแรงลัพธ มวลและความหนาแนน ความดันอากาศและความดันของของเหลว แรงลอยตัว แรงเสียดทาน เสียงกันการไดยิน การเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียง ความดันของเสียงและอันตรายที่จะเกิดขึ้น น้ําฟาและดวงดาว เมฆ หมอก ฝน น้ําคาง ลูกเห็บ วัฏจักรน้ํา กลางวัน กลางคืน การเกิดลมและประโยชนจากลม ทิศและปรากฏการณขึ้นตกของดวงดาว โดยใชกระบวนการวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู

Page 48: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

36

การสํารวจตรวจสอบการสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิต-วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม

5. เอกสารที่เก่ียวกับคอมพวิเตอรชวยสอน ความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน

คอมพิวเตอรชวยสอน หรือคอมพิวเตอรชวยการเรียนการสอน มาจากคําภาษาอังกฤษวา Computer-Assisted Instruction ; Computer – Aid Instruction หรือท่ีเรียนสั้นๆวา CAI นอกจากนี้แลวคําที่มักพบบอยๆ ซ่ึงมีความหมายเชนเดียวกันไดแก Computer Assisted Learning (CAL) , Computer Based Instruction (CBI) , Computer Based Training (CBT) ฯลฯ ซ่ึงนักวิชาการและนักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอนไวดังนี้

ยืน ภูวรวรรณ (2534 :121) ไดใหความหมายไววา คอมพิวเตอรชวยสอน คือโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ไดนําเนื้อหาวิชาและลําดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว คอมพิวเตอรจะชวยนํา บทเรียนที่เตรียมไวอยางเปนระบบมาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม สําหรับนักเรียนแตละคน

สุกรี รอดโพธ์ิทอง (2535 :40) กลาววา คอมพิวเตอรชวยสอน หรือ Computer Assisted Instruction : CAI หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอรหลายๆ รูปแบบที่พัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการรับรู

ศิริชัย สงวนแกว (2534 : 173) ไดใหความหมายไววา คอมพิวเตอรชวยสอน คือ การประยุกตนําคอมพิวเตอรมาชวยในการเรียนการสอน โดยจะมีโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสําหรับเสนอเนื้อหาตางๆ เชน การนําเสนอแบบติวเตอร (Tutorial) แบบสถานการณจําลอง(Simulations) หรือแบบการแกปญหา (Problem Solving) เปนตน

ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2541: 7) กลาวถึงความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอนวา คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอรรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงใชความสามารถของคอมพิวเตอรในการนําเสนอสื่อประสม อันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน และเสียง เพื่อถายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองคความรูในลักษณะใกลเคียงกับการสอนจริงในหองเรียนมากที่สุด โดยท่ีคอมพิวเตอรชวยสอนจะนําเสนอเนื้อหาทีละหนาจอภาพ โดยเนื้อหาความรูในคอมพิวเตอรชวยสอนจะไดรับการถายทอดในลักษณะที่แตกตางกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับธรรมชาติและโครงสรางเนื้อหา

Page 49: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

37

วีรพนธ คําดี (2543 : 1) กลาววา คอมพิวเตอรชวยสอน คือการนําคอมพิวเตอรซ่ึงเปนอุปกรณชนิดหนึ่งมาชวยในการเรียนการสอนของนักเรียนและครู โดยมีครูหรือผูที่มีความรูเปน ผูผลิตสื่อขึ้นมาแลวนําไปใหเด็กไดเรียนโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนตัวกลางในการนํากระบวนการเรียนการสอนของครูไปสูนักเรียน

จากที่มีผูใหความหมายของคําวาคอมพิวเตอรชวยสอนไวหลายทาน จะเห็นไดวามีความหมายที่คลายคลึงกัน ดังนั้นกลาวโดยสรุปไดวา คอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง การนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อประกอบการเรียนการสอน โดยในแตละบทเรียนที่นําเสนอนั้นจะมีเทคนิคการสอน ที่อยูบนพื้นฐานการมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรจะเปนผูควบคุมการนําเสนอบทเรียนตั้งแตตนจนจบ หรือจนกวาผูเรียนบรรลุเปาหมายของบทเรียนที่คอมพิวเตอรนําเสนอนั้นๆ

ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ในปจจุบันการเรียนจากคอมพิวเตอรชวยสอน ผูเรียนสามารถศึกษาจากบทเรียนในหลายลักษณะตามการออกแบบและการจัดสราง ซ่ึงเราแบงประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอนไดหลายรูปแบบตามแนวคิดของนักการศึกษา สรุปไดดังนี้ (สุกรี รอดโพธิ์ทอง 2535; บูรณะ สมชัย 2538; กิดานันท มลิทอง 2540 ; ฐาปนีย ธรรมเมธา 2541)

1. แบบศึกษาเนื้อหาใหม (Tutorial Instruction) บทเรียนในแบบการสอนจะเปนโปรแกรมที่เสนอเนื้อหาความรูเปนเนื้อหายอยๆ แกผูเรียนในรูปแบบของขอความ ภาพ เสียง หรือทุกรูปแบบรวมกัน แลวใหผูเรียนตอบคําถาม โดยเนนใหเกิดความรูความเขาใจ และคําตอบอาจตอบไดหลายวิธี คําตอบที่ถูกอาจมีหลายคําตอบ มีการจัดลําดับเนื้อหาเปนระบบและเรียงกันไป ผูเรียนจะศึกษาตามลําดับที่โปรแกรมไว บทเรียนดังกลาวมีการแทรกการถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน ซ่ึงหากตอบไมได ก็จะไดรับคําแนะนําเนื้อหานั้นใหมและใหตอบคําถามใหมจนกวาจะเขาใจ ซ่ึงผูเรียนสามารถยอนกลับไปบทเรียนเดิมหรือขามบทเรียนที่ผูเรียนรูแลว นอกจากนี้ยังสามารถตั้งระดับของบทเรียนใหเหมาะสมกับผูเรียน สามารถบันทึกรายชื่อผูเรียนและวัดระดับของผูเรียนแตละคนเพื่อใหครูผูสอนมีขอมูลในการเสริมความรูใหกับผูเรียนบางคน

2. แบบฝกทบทวน (Drill and Practice) บทเรียนแบบฝกทบทวนจะเปนโปรแกรมที่จะเนนการใหผูเรียนทําแบบฝกทบทวนความรูที่ไดเรียนไปแลว หรือความรูที่ผูเรียนขาดความตอเนื่องในเนื้อหาและเรียนไมทันจนสามารถเขาใจเนื้อหาบทเรียน บทเรียนประเภทนี้จะไมมีการเสนอ เนื้อหาความรูเดิมแกผูเรียนกอน แตจะเนนการฝกทักษะและปฏิบัติอยางเปนขั้นตอนและจะไมขาม

Page 50: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

38

ขั้นตอนจนกวาจะผานการเรียนในขั้นตนเสียกอน สวนใหญมักใชกับการเรียนการสอนทางดานภาษาศาสตรและคณิตศาสตร ซ่ึงเปนเนื้อหาวิชาที่เนนเกี่ยวกับความรู

3. แบบสถานการณจําลอง (Simulation) เปนการยอกระบวนการหรือสถานการณในชีวิตจริงลงมา เพื่อใหผูเลนสวมบทบาทที่กําหนดไวในสิ่งแวดลอมจําลอง หรือใหผูเรียนไดสัมผัสเหตุการณที่ใกลเคียงกับสถานการณจริง ซ่ึงเปนการลดความเสี่ยงอันตราย โดยมีสวนคําแนะนําเพื่อชวยการตัดสินใจใหสามารถแกปญหาของผูเรียน สวนมากบทเรียนประเภทนี้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใชในกิจการดานการฝกนักบิน ตํารวจ และทหาร หรือใชในการสอนวิชาเคมี หรือชีววิทยาที่ตองใชเวลานานๆ หลายวันจึงจะปรากฏผล

4. แบบเกมการสอน (Instructional Game) คอมพิวเตอรรูปแบบเกมเพื่อการเรียนการสอนกําลังเปนที่นิยมใชกันมาก ลักษณะของบทเรียนประเภทนี้อาจไมเปนการสอนโดยตรง การนําเสนอเนื้อหาจะไมมีการทบทวนสรุปหรือแนะนําแหลงความรูในการศึกษาเพิ่มเติม แตจะใหผูเรียนมีสวนรวมโดยการฝกทักษะใหไดรับความรูทั้งทางตรงและทางออมเพื่อกระตุนความตองการที่จะเรียน รูปแบบการนําเสนอมีความตื่นเตน ทาทาย จินตนาการ และสรางความรูสึกวาตนเองสามารถควบคุมบทเรียนได เปนการชวยเพิ่มบรรยากาศในการเรียนรูใหดีขึ้น

5. แบบคนพบ (Discovery) การคนพบเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเรียนรูจากประสบการณของตนเองใหมากที่สุด โดยการเสนอปญหาใหผูเรียนแกไขดวยการลองผิดลองถูก หรือโดยวิธีการจัดระบบเขามาชวยเหลือ โปรแกรมคอมพิวเตอรจะเสนอขอมูลท่ีหลากหลายแก ผูเรียน เพื่อใหผูเรียนพยายามคนหาจนกระทั่งไดขอสรุปในการแกไขปญหาที่ดีที่สุด

6. แบบการแกปญหา (Problem-Solving) โปรแกรมประเภทนี้ เปนการเรียนที่ใหคอมพิวเตอรสุมขอมูลมาแลวใหผูเรียนวิเคราะหหรือแกปญหา เชน วิชาสถิติ คณิตศาสตร เปนตน และยังใหผูเรียนฝกการคิด ตัดสินใจ โดยมีการกําหนดเกณฑหรือเงื่อนไขที่แตกตางกันออกไป ให ผูเรียนพิจารณาไปตามเกณฑหรือเงื่อนไขนั้นๆ ทําใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถในการวิเคราะหปญหาอยางมีหลักเกณฑ โปรแกรมเพื่อการแกปญหาแบงไดเปน 2 ชนิด คือ โปรแกรมที่ใหผูเรียนเขียนเองและโปรแกรมที่มีผูเขียนไวแลว

7. แบบทดสอบ (Tests) การใชโปรแกรมเพื่อการทดสอบ เปนบทเรียนที่นํามาใชเพื่อสําหรับประเมินผลความรู ประเมินทักษะ และประเมินเจตคติผูเรียน เปนบทเรียนที่เนนเฉพาะเรื่องของการทดสอบ ซ่ึงจะใชเมื่อผูเรียนผานการฝกทบทวน (Drill and Practice) ไปแลว หรืออาจใชหลังจากผูเรียนไดผานแบบศึกษาเนื้อหาใหม (Tutorial Instruction) ก็ได

Page 51: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

39

จะเห็นไดวา คอมพิวเตอรชวยสอนที่นําไปใชในการเรียนการสอนแตละประเภทนั้น จะตองคํานึงถึงวัตถุประสงคในการนําไปใช เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายนั้นๆ ซ่ึงแตละประเภทจะมีลักษณะเฉพาะในการนําไปใช (สรินทร ศรีสมพันธุ 2538 : 15)

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษาแบบหนึ่ง ซ่ึงเปนการบูรณาการศาสตรหลายศาสตรเขาดวยกัน เชน การพัฒนาการสอนจิตวิทยาการเรียนรู การสื่อสาร บทเรียนโปรแกรม วิธีระบบ ตลอดจนหลักการและเทคนิคทางคอมพิวเตอร เปนตน (ยืน ภูวรวรรณ 2531:123-124) ซ่ึงศาสตรทั้งหลายดังกลาวขางตนก็คือ พื้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษานั่นเอง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจึงเปนสวนหนึ่งของกระบวนการออกแบบการสอน โดยใชหลักการของวิธีระบบเปนแนวทาง เพื่อใหไดแนวความคิดในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่เหมาะสม (บุญสืบ พันธุดี 2537: 85 – 91) ขั้นตอนในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบงออกเปน 4 แนวคิด ดังนี้

1. รอมมิสซอสกี (Romiszowski, อางถึงใน เชษฐพงศ คลองโปรง 2544 : 19) ไดเสนอขั้นตอนการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไว 7 ขั้น คือ

1. การกําหนดวัตถุประสงคเฉพาะ 2. วิเคราะหพฤตกิรรม เปาหมายของผูเรียนทีต่องการและกฎเกณฑ เพื่อสราง

รูปแบบบทเรียน 3. การออกแบบบทเรียน 4. สรางบทเรียนตามที่ออกแบบไว 5. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรดวยภาษาที่เหมาะสม 6. การทดลองเพือ่พัฒนาบทเรยีน 7. ประเมินผลความเที่ยงตรงทั้งทางดานเทคนคิคอมพิวเตอรและดานการสอน

2. เคมพ (Kemp 1985: 248) ไดสรุปขั้นตอนที่มีความสําคัญ ในการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน เปน 8 ขั้นตอน คือ

1. จัดเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณที่จะใช 2. ออกแบบและเขียนผังงาน (Flow Chart) ตามลําดับขั้นของกระบวนการสอน 3. พัฒนาคําถามที่จะใชสําหรบัทบทวนและเสนอแนะ 4. วางแนวคิดทีจ่ะเสนอบทเรียนบนจอคอมพวิเตอร 5. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร

Page 52: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

40

6. เพิ่มความสนใจใหแกบทเรยีนโดยใชเทคนคิดานภาพและเสียง 7. จัดเตรียมวัสดส่ิุงพิมพที่ใชประกอบบทเรียน 8. ทดสอบและปรับปรุง

3. อเลสซีและทรอลิป(Alessi and Trollip)ไดออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2541:12 – 13)

1. การเตรียม 1.1 กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค 1.2 รวบรวมขอมลู 1.3 เรียนรูเนื้อหา 1.4 สรางความคิด

2. ออกแบบบทเรียน 2.1 ทอนความคิด 2.2 วิเคราะหงานและแนวคิด 2.3 ออกแบบบทเรียนครั้งแรก 2.4 ประเมินและแกไขการออกแบบ

3. เขียนผังงาน(Flow Chart) 4. สรางสตอรี่บอรด(Create Storyboard) 5. สรางและการเขียนโปรแกรม 6. ผลิตเอกสารประกอบบทเรียน 7. ประเมินและแกไขบทเรียน

4. อรพันธุ ประสิทธิรัตน (2530:144) ไดกลาวเปนแนวคิดในการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนในประเทศไทยไว 11 ขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกเนื้อหาและกําหนดจุดมุงหมายทัว่ไป 2. วิเคราะหผูเรียน 3. กําหนดจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม 4. วิเคราะหเนื้อหาแยกเปนหนวยยอย 5. ออกแบบบทเรียนโปรแกรม 6. สรางบทเรียนโปรแกรมตามแบบ 7. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 8. ปอนเขาเครื่องคอมพิวเตอร

Page 53: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

41

9. ทดลองหาประสิทธิภาพ 10. นําไปใช 11. ประเมินผลและปรับปรุงแกไข

เมื่อเปรียบเทียบดูแลวจะเห็นไดวา ลําดับขั้นตอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน ของ Romiszowski, Kemp , Alessi and Trollip และ อรพันธุ ประสิทธิรัตน มีความคลายคลึงกันในหลักการที่เปนสาระสําคัญพอแบงไดเปน 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 การสราง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงแบงเปนขั้นตอนยอยๆ คือ 1.1 ขั้นเลือกเนื้อหาและกําหนดจุดมุงหมายทั่วไป 1.2 วิเคราะหผูเรียน เพื่อดูความพรอมและการเรียนรูความรูใหมใหตอเนื่อง

ตลอดจนวเิคราะหเนื้อหาแยกเปนหนวยยอยในรูปมโนมติยอยๆ เพื่อวางจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม 1.3 ออกแบบและสรางบทเรียนตามแบบเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่วางไว 1.4 เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร

ตอนที่ 2 การทดลองพัฒนาบทเรียน เพื่อประเมินผลประสิทธิภาพของบทเรียนและ ปรับปรุงแกไขจนไดคณุภาพและประสิทธิภาพ (เชษฐพงศ คลองโปรง 2544 : 20) ขอดีและขอจํากัดของคอมพวิเตอรชวยสอน

คอมพิวเตอรนั้นเปนเทคโนโลยีสมัยใหม ซ่ึงนับวันแตกาวเขามามีบทบาทเพิ่มขึ้นอยางมากในวงการศึกษา แตคอมพิวเตอรก็เชนเดียวกับสื่ออ่ืนๆ คือยอมมีทั้งขอดีและขอจํากัดในการใชเพื่อการเรียนรู (กิดานันท มลิทอง 2540: 240 – 241)

ขอดีของคอมพิวเตอรชวยสอน ขอดีและประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนมีอยูหลายประการดังที่นักการศึกษาหลาย

ทานไดเสนอแนะไวดังนี้ (ฉลอง ทับศรี 2535 ; ศรีศักดิ์ จามรมาน 2535; กิดานันท มลิทอง 2540)

1. คอมพิวเตอรจะชวยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรูใหแกผูเรียน เนื่องจากคอมพิวเตอรนั้นเปนประสบการณที่แปลกใหม ทําใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูมากขึ้น

2. การใชสี ภาพลายเสนที่แลดูคลายเคลื่อนไหว ตลอดตนเสียงดนตรีจะเปนการเพิ่มความเหมือนจริงและเราใจผูเรียนใหเกิดความอยากเรียนรู ทําแบบฝกหัด หรือทํากิจกรรมตางๆ

3. ความสามารถของหนวยความจําของเครื่องคอมพิวเตอรชวยในการบันทึกคะแนนและพฤติกรรมตางๆ ของผูเรียนไวเพื่อใชในการวางแผนบทเรียนในขั้นตอไป

Page 54: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

42

4. ความสามารถในการเก็บขอมูลของเครื่อง ทําใหสามารถนํามาใชไดในลักษณะของการศึกษารายบุคคลไดเปนอยางดี โดยสามารถกําหนดบทเรียนใหแกผูเรียนแตละคนและแสดงผลความกาวหนาใหเห็นไดทันที

5. ลักษณะของโปรแกรมบทเรียนที่ใหความเปนสวนตัวแกผูเรียน เปนการชวยใหผูเรยีนที่เรียนชา สามารถเรียนไปไดตามความสามารถของตนโดยสะดวกอยางไมเรงรีบโดยไมตองอาย ผูอ่ืน และไมตองอายเครื่องเมื่อตอบคําถามผิด

6. เปนการชวยขยายขีดความสามารถของผูสอนในการควบคุมผูเรียนไดอยางใกลชิด เนื่องจากสามารถบรรจุขอมูลไดงายและสะดวกในการนําออกมาใช

7. ผูเรียนมีอิสระในการเลือกเรียน ทั้งนี้เพราะไมตองเรียนพรอมกับเพื่อนทั้งหองหรือตองมีผูสอนอยูในที่นั้นดวย จะเรียนกับคอมพิวเตอรเมื่อไรก็ทําได

8. คอมพิวเตอรชวยสอนจะชวยใหการเรียนมีทั้งประสิทธิภาพในดานการลดเวลา ลดคาใชจาย และประสิทธิผลในดานทําใหผูเรียนบรรลุจุดมุงหมาย

9. เสนอเนื้อหาไดรวดเร็ว ฉับไว แทนที่ผูเรียนตองเปดจากหนังสือทีละหลายๆ หนา คอมพิวเตอรสามารถเก็บขอมูลไดมากกวาหนังสือหลายเทา

10.ทําใหผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูสูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ซ่ึงผูเรียนจะเรียนรูจากงายไปหายากตามลําดับ

ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2541ข:12 – 13) ไดกลาวถึงขอดีของคอมพิวเตอรชวยสอนไวพอสรุปไดดังนี้ 1. คอมพิวเตอรชวยสอนเกิดจากความพยายามในการที่จะชวยใหผูเรียนที่เรียนออนสามารถใชเวลานอกเวลาเรียนในการฝกฝนทักษะและเพิ่มเติมความรูเพื่อที่จะปรับปรุงการเรียนของตนใหทันผูเรียนอื่นได ดังนั้นผูสอนจึงสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชชวยในการสอนเสริมหรือทบทวนการสอนปกติในชั้นเรียนได โดยที่ผูสอนไมจําเปนตองเสียเวลาในการสอนซ้ํากับ ผูเรียนที่ตามไมทันหรือจัดการสอนเพิ่มเติม 2. ผูเรียนก็สามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองในเวลาและสถานที่ซ่ึงผูเรียนสะดวก เชน แทนที่จะตองเดินทางมายังชั้นเรียนตามปกติ ผูเรียนก็สามารถเรียนดวยตนเองจากที่บาน นอกจากนั้นยังสามารถเรียนในเวลาใดก็ไดตามที่ตองการ 3. ขอไดเปรียบที่สําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนก็คือ คอมพิวเตอรชวยสอนที่ไดรับการออกแบบมาอยางดี ถูกตองตามหลักการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นสามารถที่จะจูงใจผูเรียน

Page 55: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

43

ใหเกิดความกระตือรือรน (Motivated) ที่จะเรียนและสนุกสนานไปกับการเรียนตามแนวคิดของการเรียนรูในปจจุบันที่วา “Learning is Fun” ซ่ึงหมายถึง การเรียนรูเปนเรื่องสนุก จะเห็นไดวาขอดีของคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นมีอยูมากมาย ซ่ึงพอสรุปไดว า คอมพิวเตอรชวยสอนทําใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามความชาเร็วของตนเอง ชวยแบงเบาภาระของผูสอน พรอมกับเพิ่มความสนใจและเสริมแรงใหกับผูเรียนดวยภาพเคลื่อนไหว เสียง ซ่ึงทําใหดูเหมือนจริง

ขอจํากัดของคอมพิวเตอรชวยสอน

คอมพิวเตอรชวยสอนที่มีบทบาท ดานการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีขอดีและประโยชนก็ยอมมีขอจํากัดในการใชงานเชนกัน ดังแนวคิดของนักการศึกษาหลายทานไดกลาวไว อาทิ กิดานันท มลิทอง (2540:240 – 241) และถนอมพร(ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2541ข:14) ซ่ึงแบงไดดังนี้

1. การออกแบบอุปกรณที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอร โดยครูผูสอนนั้นเปนที่ตองอาศัยสติปญญา เวลา และความสามารถเปนอยางยิ่ง แมในหมูครูที่มีความรูดานคอมพิวเตอรก็ตาม อีกทั้งยังทําใหเปนการเพิ่มภาระของผูสอนใหมีมากยิ่งขึ้น

2. ในปจจุบันนี้ยังขาดอุปกรณที่มีคุณภาพซึ่งจะนํามาใชรวมกับคอมพิวเตอร นอกจากนี้ยังประสบปญหาเรื่องมาตรฐานเดียวกันของอุปกรณที่ใชกับอุปกรณคอมพิวเตอรที่ตางระบบกัน เชน ซอฟทแวรที่ผลิตขึ้นมาใชกับคอมพิวเตอรระบบหนึ่งไมสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรอีกระบบได

3. เร่ืองของราคาและคาใชจายตางๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร ถึงแมวาจะลดลงมากแลวก็ตาม แตการใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษายังถือเปนสิ่งที่มีราคาแพงอยูมาก อีกทั้งจําเปนตองมีการพิจารณากันอยางรอบคอบเพื่อใหคุมคากับการใชจายในการดูแลรักษา

4. ผูเรียนบางคน โดยเฉพาะผูใหญอาจไมชอบโปรแกรมที่เรียนตามขั้นตอน ดังที่ปรากฏในบทเรียนคอมพิวเตอรทั่วไป ทําใหเปนอุปสรรคในการเรียนรูได

5. การพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นกับตัวผูเรียนนับเปนปญหาสําคัญอยางยิ่งของการเรียนจากคอมพิวเตอร เพราะคอมพิวเตอรไมสามารถอานคําตอบที่ผิดแปลกจากคําตอบที่มีเฉลยอยูในเครื่องได

6. การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชในการเรียนการสอนนั้นนับวันยังมีนอยเมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรมเพื่อใชในวงการดานอื่นๆ ทําใหโปรแกรมบทเรียนการสอนที่ใชคอมพิวเตอรชวยสอนมีจํานวนและขอบเขตจํากัดที่จะนํามาใชเรียนในวิชาตางๆ

Page 56: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

44

7. เครื่องคอมพิวเตอรสามารถใชไดทีละคน จึงตองใชเครื่องจํานวนมาก เกิดความ ส้ินเปลืองสูง

8. คอมพิวเตอรชวยสอนยังไมแพรหลายเทาที่ควร ปญหาที่สําคัญคือขาดแคลนการสงเสริมจากหนวยงานที่รับผิดชอบดานการศึกษาอยางจริงจัง อีกทั้งโปรแกรมบทเรียนที่ดี และตรงความตองการหายาก

9. การเรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหผูเรียนขาดมนุษยสัมพันธ เพราะอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรตลอดเวลา ผูเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับเด็กสามารถแกปญหานี้ได โดยการสรางกิจกรรมการเรียนใหเด็กตองทํากิจกรรมรวมกัน ลักษณะการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนั้น จะตองพิถีพิถันละเอียด รอบคอบ ซ่ึงมีขอควรคํานึงในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และลักษณะของการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ดี มี 12 ประการดังนี้ (Hannafin and Peck 1988 :17–23) 1. สรางขึ้นตามจุดประสงคของการสอนเพื่อที่จะใหผูเรียนไดเรียนจากบทเรียนนั้นมีความรูและทักษะตลอดจนทัศนคติที่ผูสอนตั้งไว และผูเรียนสามารถประเมินผลดวยตนเองวาบรรลุจุดประสงคในแตละขอหรือไม

2. บทเรียนที่ดีควรเหมาะสมกับลักษณะของผูเรียน การสรางบทเรียนจะตองคํานึงถึง ผูเรียนเปนสําคัญวา ผูเรียนมีความรู ความสามารถพื้นฐานอยูในระดับใด ไมควรยากหรืองายเกินไป

3. บทเรียนที่ดีควรจะมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนใหมากที่สุด เพราะการเรียนจากคอมพิวเตอรชวยสอนควรมีประสิทธิภาพมากกวาจากหนังสือ เพราะสามารถสื่อสารกับผูเรียนได 2 ทาง

4. บทเรียนที่ดีควรจะมีลักษณะเปนการเรียนการสอนรายบุคคล ผูเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในหัวขอที่ตนเองมีความสนใจและตองการที่จะเรียน และสามารถที่จะขามบทเรียนที่ตนเองเขาใจแลวได แตถาเรียนบทเรียนที่ตนเองยังไมเขาใจก็สามารถซอมเสริมจากขอแนะนําของคอมพิวเตอรชวยสอนได

5. บทเรียนที่ดีควรคํานึงถึงความสนใจของผูเรียน ควรจะมีลักษณะที่เราความสนใจตลอดเวลา เพราะจะทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียนอยูเสมอ

6. บทเรียนที่ดีควรจะสรางความรูสึกในทางบวกกับผูเรียน ควรใหผูเรียนเกิดความรูสึกเพลิดเพลิน เกิดกําลังใจ และสมควรอยางยิ่งที่จะหลีกเลี่ยงการลงโทษ

Page 57: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

45

7. ควรจัดทําบทเรียนใหแสดงผลยอนกลับไปยังผูเรียนใหมากๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการแสดงผลยอนกลับในทางบวก ซ่ึงจะสามารถทําใหผูเรียนชอบและไมเบื่อหนาย

8. บทเรียนที่ดีควรเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางการเรียนการสอน บทเรียนควร ปรับเปล่ียนใหงายตอกลุมผูเรียนเหมาะกับการจัดตารางเวลาเรียน สถานที่ติดตั้งเครื่องเหมาะสมและควรคํานึงถึงการใสเสียง ระดับเสียง หรือดนตรีประกอบควรเปนที่ดึงดูดใจผูเรียนดวย

9. บทเรียนที่ดีควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูเรียนอยางเหมาะสม ควร หลีกเลี่ยงคําถามที่งายและตรงเกินไป ควรหลีกเล่ียงคําหรือขอความในคําถามที่ไรความหมาย การตัดสินคําตอบควรใหแจมแจงไมคลุมเครือ และไมเกิดความสับสนหรือขัดแยงกับคําตอบ

10. บทเรียนควรใชกับคอมพิวเตอรซ่ึงเปนแหลงทรัพยากรทางการเรียนอยางชาญฉลาด ไมควรเสนอบทเรียนในรูปอักษรอยางเดียว หรือเร่ืองราวที่พิมพอักษรตลอด ควรใชสมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรอยางเต็มที่ เชน การเสนอดวยภาพ ภาพเคลื่อนไหวผสมตัวอักษร หรือใหมีเสียงหรือแสง เนนที่สําคัญ หรือวลีตางๆ เพื่อขยายความคิดของผูเรียนใหกวางไกลมากขึ้น ผูที่สราง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควรตระหนักในสมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรที่มีอยู ตลอดจนขอจํากัดตางๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรดวย เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความสูญเสียบางสิ่งบางอยางของสมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอร เชน ภาพเคลื่อนไหวปรากฏชาเกินไป การแบงสวนยอยๆ ของโปรแกรมมีขนาดใหญเกินไป ทําใหไมสะดวกตอการใช

11. บทเรียนที่ดีตองอยูบนพื้นฐานของการออกแบบการสอนคลายๆ กับการผลิตสื่อชนิดอ่ืนๆ การออกแบบบทเรียนที่ดียอมจะสามารถเราความสนใจของผูเรียนไดมาก การออกแบบบทเรียนยอมประกอบดวย การตั้งวัตถุประสงคของบทเรียน การจัดลําดับขั้นตอนของการสอน การสํารวจทักษะที่จําเปนตอผูเรียน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว จึงจัดลําดับขั้นตอนการสอนใหดี มีการวัดผลและแสดงผลยอนกลับใหผูเรียนไดทราบ มีแบบฝกหัดพอเพียงและการประเมินผลขั้นสุดทาย เปนตน

12. บทเรียนที่ดีควรมีการประเมินผลทุกแงทุกมุม เชน การประเมินคุณภาพผูเรียน ประสิทธิภาพของบทเรียน ความสวยงาม ความตรงประเด็น และตรงกับทัศนคติของผูเรียน เปนตน

การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โจแนสเซนต และแฮนนัม (Jonassen and Hannum 1987: 7-14) ไดกลาวถึงการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวา เปนกระบวนการทางวิทยาศาสตรและศิลปะการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นควรใชวิธีการเชิงระบบ (System Approach) นักออกแบบที่ไดรับความสําเร็จนั้นตองใชประสบการณและความนึกคิดของตนเองเทาๆ กับที่ตองอาศัยวิธีการเชิงระบบ

Page 58: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

46

ทั้งนี้เพราะเรายังไมเขาใจแนชัดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรชวยสอน หรือการใชคอมพิวเตอรไดโดยตรง แตมีกระบวนการที่เปนสื่อ เชน ภาษา หรือ Authoring System ซ่ึงจะตองนํามาพิจารณาดวย ทฤษฎีของการเรียนรูและการวิจัยก็ไมไดบอกวิธีการที่จะปฏิบัติที่แจมชัดเสมอไป

แนวทางการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เชษฐพงศ คลองโปรง (2544 : 22 – 25 ) ไดกลาวถึง องคประกอบ 4 ประการของการ

เรียนรูที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรชวยสอน จากผลงานและหลักการเรียนรู สามารถนํามาเปนแนวทางในการนําไปปฏิบัติดังนี้

1. การออกแบบสิ่งเราหรือเนื้อหาท่ีจะสอน (Design of the Stimulus) นักเรียนสามารถเห็นขอมูลหรือเนื้อหาไดบนจอภาพ โดยหลักการแลวจะไมนํา

หลักการรับรูมาใชมาก แตจะเนนวิธีการแสดงขอมูลซ่ึงจะทําใหนักเรียนสามารถเขาใจและจดจําได สวนขั้นตอนของการแสดงขอมูลนั้นตองเขาใจงาย คําถามนั้นตองออกมาใหอยูในรูปกิจกรรมเปนสวนที่นักเรียนไดมีการโตตอบหรือเรา เหมือนกับการที่นักเรียนไดฟงหรือไดเห็น ซ่ึงมีหลักการดังตอไปนี้

1. การระบุหรือคําส่ังกิจกรรมแตละกจิกรรมและทุกขั้นตอนจะตองชดัเจน 2. แสดงตัวอยางของคําส่ังนั้น 3. บรรยายเนื้อหาในสวนที่เปนสาระสําคัญ 4. แสดงแผนภูมิ หรือ Outline เพื่อใหเห็นวาเนื้อหานั้นมีความสัมพันธเกี่ยวของกับ

รายวิชาอยางไร 5. บรรยายขอมูลในรูปของการเปรียบเทยีบ 6. อุปมาอุปมัยเนื้อหาเกี่ยวกบัเรื่องที่นักเรียนเคยรูจกั 7. ตั้งคําถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงค 8. ตั้งคําถามกอนบทเรียน ระหวางเรียนในแตละตอน และหลังบทเรียน 9. ใชคําถามที่จับใจผูอาน 10. ควรที่จะมกีารทดสอบ จากแบบทดสอบกอนเรียนกอนที่จะเริ่มบทเรียน 11. ขณะที่ตอบคําถามไมควรใหผูเรียนยอนกลับไปดูคําบรรยายหรือคําตอบได แตควร

จะใหคําอธิบายพรอมการใหขอมูลยอยกลับในทันที เชน เฉลยขอที่ถูกหรือชมเชยเมื่อตอบถูก 12. เมื่อจบกรอบเนื้อหาควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดทบทวนเนื้อหากอนที่จะตอบ

คําถาม 13. มีการกระตุนใหผูเรยีนตอบคําถาม

Page 59: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

47

14. การเสนอเนื้อหา ตัวอักษรจะตองไมกระพริบ 15. ควรมีการใชสี การขีดเสนใต การตกีรอบ การใชลูกศร การเคลื่อนไหว เพื่อที่จะ

เนน ความสนใจของผูเรียน 16. วิธีการเนนเนื้อหาไมควรเกินสามอยางใน 1 บทเรียน 17. ควรที่จะอธิบายสิ่งที่นักเรียนจะตองทําในตอนตนของบทเรียน 18. ควรออกแบบบทเรียนใหสามารถเลือกระดับความยากงายของบทเรียนได 19. ควรใชคําถามที่สอดคลองกับความรูพื้นฐานประสบการณ และความสนใจของ

ผูเรียน 2. การตอบสนองของผูเรียน

ผูเรียนจะตองมีความรูในคําส่ังตางๆ ที่ใชควบคุมบทเรียนอยูรวมท้ังจะตองมีความรู เกี่ยวกับคําสั่งพื้นฐานของคอมพิวเตอร และที่สําคัญที่สุดก็คือ การปอนขอมูล ซ่ึงมีหลักการดังตอไปนี้

1. ไมจําเปนทีจ่ะตองใหผูเรยีนตอบสนองแบบเปดเผย 2. ควรใชศิลปะในการตั้งคําถาม หรือคําส่ังในการทบทวน เพื่อกระตุนใหผูเรียนมี

การตอบสนองโดยไมตองเปดเผย 3. เมื่อตองการประเมินผลหรือใหผลยอนกลับแกผูเรียน ควรใชการตอบสนองแบบ

เปดเผย 4. ใหผูเรียนประเมินระดับความเขาใจของตนเองในแตละเนื้อหา 5. ผูเรียนในระดับเดก็เล็ก ควรใหการโตตอบโดยการใหกดคียบอรดเพยีง 1 – 2 คีย

เทานั้น แตผูเรียนที่อยูในระดับสูงกวานี้ที่ตองการใชความคิดมากๆ ควรจะตองใชแปนคียบอรดที่มากกวานี้

6. สําหรับผูเรียนที่อยูในระดบัสูง ถาใหผูเรียนเขียนคําตอบเอง จะตองเขยีนโปรแกรม ใหสามารถรับคําตอบ ซ่ึงในบางครั้งอาจจะมีการสะกดคําผิด และคําตอบที่ไมคาดคิดมากอน

7. นอกจากการประเมินผลโดยคอมพวิเตอร อาจจะใหมกีารประเมินผลโดยเพื่อน นักเรียนดวยกันหรือครู โดยการใชสมุดแบบฝกหัดก็ได

3. การใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) การใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) ในตอนไหนนั้นจะขึ้นอยูกับวัตถุประสงค ถาเปน บทเรียนที่เกี่ยวกับความจํา ควรให Feedbackทุกครั้ง แตถาเปนการเรียนในระดับสูงหรือเปนนามธรรมก็ควรให Feedback ในตอนทายของบทเรียน โดยมีหลักการการใหขอมูลยอนกลับดังนี้

1. ตองให Feedback ในทันทีทันใด หลังจากที่ผูเรียนตอบคําถาม

Page 60: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

48

2. ควรที่จะหลีกเลี่ยง Feedback ชนิดถูกหรือผิด เพราะจะถือวาเปนเพยีงการยืนยัน คําตอบเทานั้น

3. เมื่อนักเรียนตอบถูก ควรจะตอง Feedback ใหนกัเรียนไดทราบวาคําตอบนั้นถูก และทําไมจึงถูก และให Feedback เมื่อนักเรียนตอบผิดวาคําตอบนั้นผิด ทําไมคําตอบจงึผิด และคําตอบที่ถูกตองคืออะไร

4. เมื่อนักเรียนตอบคําถามผิด ควรที่จะเปดโอกาสใหผูเรียนนั้นตอบคาํถามเดิมอีก คร้ัง แตถาผูเรียนยังตอบผิดอีก ก็บอกคําตอบที่ถูกตอง พรอมทั้งอธิบายวาทําไมจึงถูกตอง

5. ควรจะจัด Feedback ที่แตกตางกันออกไปตามระดับการเรียนของผูเรียน โดยผูเรียน ที่เรียนออนควรจะให Feedback แบบที่มีการอธิบายเพิ่มเติม และมีการชวยเหลือมีการกระตุนผูเรียน

6. การให Feedback ที่ดีไมควรใหซํ้าๆ และเหมือนๆ กัน หรือการใหทีเ่ปนแบบแผน ตายตัว หรือใหซํ้าๆ กันแตควรแตกตางกันออกไป

7. ควรให Feedback ที่มีลักษณะเปนการเสริมแรง คือมีทั้งขอมูลและความนาสนใจ มากกวาทีจ่ะเปนขอเสนอแนะ หรือการติชมอยางงายๆ

3. การควบคุมผูเรียน การควบคุมผูเรียนก็เปนปจจัยที่สําคัญอีกอยางที่มีความจําเปนตอการใชคอมพิวเตอร

ชวยสอน โดยหลักการควบคุมบทเรียนมีหลักการดังตอไปนี้ 1. ควรมีการทดสอบกอนเรียน และเปดโอกาสใหผูเรียนที่ไดคะแนนสูง สามารถเลือกวิธีการเรียน และระดับความยากงายของบทเรียนได แตถานักเรียนที่ไดคะแนนการทดสอบกอนเรียนต่ําควรใหเรียนไปตามลําดับขั้นตอนของบทเรียน 2. ควรใหคําแนะนํากับผูเรียนเกี่ยวกบัตัวเลือกในการควบคุมบทเรียนกอนเรียน 3. ควรจัดลําดับความยากงายของคําถามใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคและผูเรียนที่เปนกลุมเปาหมาย โดยเรียงคําถามจากคําถามที่งายๆ ไปหาคําถามที่ยาก และควรคํานึงถึงชนิดของ เนื้อหาและความสัมพันธของเนื้อหาดวย 4. ควรที่จะมีตัวอยางของคําถามและคําตอบ และไมสมควรอยางยิ่งที่จะใหผูเรียนขามกรอบของตัวอยาง 5. เปดโอกาสใหนักเรียนเลือกจํานวนคําถามตามความตองการได และหลังจากตอบ คําถามแบบฝกหัดในแตละขอแลว ผูเรียนสามารถเลือกที่จะทําแบบฝกหัดขอตอไป หรือสามารถที่จะเลือกเรียนในเรื่องตอไป 6. นักเรียนสามารถเลิก หรือเริ่มบทเรียนไดทุกขณะ เชน ในกรณีที่กําลังทําแบบฝกหัด นักเรียนสามารถหยุดหรือกลับไปยังบทเรียนได

Page 61: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

49

7. หลังจากที่นักเรียนเรียนจบบทเรียนนั้นแลว ควรแสดงคะแนนความกาวหนาของ ผูเรียนดวย ขั้นตอนการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ลําดับขั้นตอนของการออกแบบพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หรือที่เรียกกันวา Instructional Computing Development พอที่จะแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอนใหญๆ ดังตอไปนี้ (ศิริชัย สงวนแกว 2534 : 173-179)

1. ขั้นตอนการออกแบบ(Instructional Design) จะเปนการกําหนดคุณลักษณะและรูปแบบการทํางานของโปรแกรม โดยจะเปน

หนาที่ของนักวิชาการหรือครูผูสอนที่ความรูในเนื้อหา หลักจิตวิทยา วิธีการสอน หลักการวัดผลและประเมินผล ซ่ึงจะตองมีกิจกรรมรวมกันพัฒนาดังนี้ 1.1 การวิเคราะหเนื้อหา ครูผูสอนจะตองประชุมปรึกษาหารือ หรือตกลงตลอดจนทําการเลือกสรรเนื้อหาวิชาที่จะนํามาทําเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยจะมีขอที่ควรพิจารณาดังนี้

1.1.1 เนื้อหาทีม่ีการฝกทักษะซ้ําบอยๆ จะตองมีภาพประกอบ 1.1.2 เนื้อหาทีค่ิดวาจะชวยประหยดัเวลาในการสอนไดมากกวาวิธีเดมิ 1.1.3 เนื้อหาบางอยางที่สามารถจะจําลองอยูในรูปของการสาธิตโดยหาก

ทําการทดลองจริงๆ อาจจะมอัีนตรายได หรือจะตองใชวสัดุส้ินเปลือง หรืออุปกรณทีม่ีราคาแพงมากๆ

1.2 การศึกษาหาความเปนไปได คงจะเปนเรื่องจําเปนที่จะตองศึกษาความเปนไปได ทั้งนี้ก็เพราะถึงแมวาคอมพิวเตอรจะมีความสามารถเพียงใด แตก็มีขอจํากัดในบางเรื่อง ดังนั้นเมื่อผูสอนไดเลือกเนื้อหาและวิเคราะหออกมาแลววาเนื้อหาในตอนใดที่จะทําเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ก็มีความจําเปนที่จะตองปรึกษาหารือกับฝายเทคนิค หรือผูที่เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมีขอพิจารณาดังนี้

1.2.1 มีบุคลากรที่เปนผูที่มีความรูพอที่จะสามารถพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ไดตามความตองการหรือไม

1.2.2 ใชระยะเวลาที่ยาวนานในการพัฒนามากเกินกวาการสอนธรรมดาหรือ พัฒนาสื่อการสอนแบบอื่นหรือไม

1.2.3 ตองการอุปกรณพิเศษเพิ่มเติมจากเครื่องคอมพิวเตอรหรือไม 1.2.4 มีงบประมาณเพยีงพอหรือไม

Page 62: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

50

1.3 กําหนดวัตถุประสงค จะเปนการกําหนดคุณสมบัติและส่ิงที่คาดหวังจากผูเรียนกอนและหลังการใชโปรแกรม โดยจะตองระบุส่ิงตอไปนี้

1.3.1 กอนที่จะใชโปรแกรม ผูเรียนจะตองเปนผูที่มีความรูพื้นฐานอะไรบาง 1.3.2 ส่ิงที่คาดหวังจากผูเรียนวาควรจะไดรับความรูอะไรบางหลังจากใช

โปรแกรม 1.4 ลําดับขั้นตอนของการทํางาน นําเนื้อหาที่ไดจากการวิเคราะห และสิ่งที่

คาดหวังจากผูเรียนมาผสมผสานและเรียงลําดับ วางแผนการนําเสนอในรูปของ Storyboard และ Flow Chart โดยเนนในเรื่องตอไปนี้

1.4.1 ภาษาที่ใชนั้นเหมาะสมกับผูเรียนหรือไม 1.4.2 ขนาดของขอความในหนึ่งจอภาพ 1.4.3 ขนาดของตัวอักษรที่เหมาะสมกับวยัของผูเรียน 1.4.4 การเสริมแรงตางๆ ในบทเรียน 1.4.5 จิตวิทยาการเรียนรู และการชี้แนะ 1.4.6 แบบฝกหัด การประเมนิผล และความสนใจ

หลังจากที่วางแผนการนําเสนอ หรือ Storyboard เสร็จแลวจึงนํามาวิเคราะห วิจารณเพื่อเพิ่มเติมหรือแกไข หรือตัดทอนจนเกิดความเหมาะสมและความพอใจจากกลุมครูผูสอน

2. ขั้นการสราง(Instructional Development) จะเปนหนาที่ของนักคอมพิวเตอร หรือครูที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรม

โดยจะลําดับขั้นตอนการทํางานดังนี้ 2.1 การสรางโปรแกรม จะนําเนื้อหาที่อยูในรูปของ Storyboard มาสรางบทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน โดยการใชภาษาใดภาษาหนึ่ง หรืออาจเปนโปรแกรมสําหรับการสราง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยเฉพาะ (Authoring System) หลังจากนั้นจะตรวจแกไขขอผิดพลาดที่อาจเกิดจากสาเหตุตอไปนี้ 2.1.1 รูปแบบหรือคําสั่งที่ผิดพลาด (Syntax Error) เกิดจากสาเหตุของการใชคําส่ังที่ไมถูกตองตามขอกําหนดของภาษานั้นๆ 2.1.2 แนวคิดผิดพลาด (Logical Error) เกิดจากสาเหตุที่ผูเขียนเขาใจขั้นตอนของการทํางานคลาดเคลื่อน เชน การกําหนดสูตรผิดพลาด เปนตน

2.2 ทดสอบการทํางาน หลังจากการตรวจขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นในโปรแกรมเปนที่ เรียบรอยแลว ก็นําโปรแกรมนั้นไปใหครูผูสอนเนื้อหานั้นไดตรวจสอบความถูกตองบนจอภาพ เพราะอาจจะมีการแกไขโปรแกรมบางสวน และนําไปทดสอบกับผูเรียนในสภาพการใชงานจริง

Page 63: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

51

เพื่อทดสอบการทํางานของโปรแกรม และหาขอบกพรองที่ผูออกแบบนั้นคาดไมถึง เพื่อที่จะไดนํา ขอมูลเหลานั้นมาปรับปรุงตนฉบับและปรับปรุงแกไขโปรแกรมตอไป

2.3 ปรับปรุงแกไข การปรับปรุงแกไขนั้นจะตองทําการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงที่ตนฉบับจริงของ Storyboard เสียกอนแลวจึงคอยไปทําการแกไขที่โปรแกรม แลวนําไปทดลองการทํางานใหม และถายังพบขอบกพรองอีกก็จะนํามาปรับปรุงแกไขอีก จนกวาจะไดโปรแกรมอันเปนที่พอใจของทุกๆ ฝายแลวจึงนําไปใชงาน และเพื่อใหการนําไปใชงานใหมีประสิทธิภาพจึงควรมีการจัดทําคูมือประกอบการใชโปรแกรม ซ่ึงสามารถแบงออกเปน 3 ระดับ

2.3.1 คูมือนักเรียน - ช่ือเร่ือง ช่ือวิชา และระดับชัน้ - วัตถุประสงคของบทเรียน เชน เพื่อทดสอบความรู เพื่อเสริมสราง

ความรู หรือเพือ่ใชสอนแทนครู - จุดประสงคทัว่ไป และจุดประสงคเชิงพฤติกรรม - โครงสรางของเนื้อหา หรือบทสรุปของเนื้อหาในบทเรยีน - ความรูพื้นฐานที่จําเปนกอนเรียน - แสดงตัวอยางกรอบภาพในบทเรียนและคําชี้แจงในสวนที่จําเปน - กิจกรรม กฎเกณฑ หรือขอเสนอแนะที่เกีย่วของกับการเรียนหรือ

การทดสอบ - ระยะเวลาในการเรียนโดยประมาณ

2.3.2 คูมือครู - โครงสรางของเนื้อหา - จุดประสงคของโปรแกรมที่ใชในการสอน - ใชสอนในวิชาอะไร ใชตอนไหน สัมพันธกับวัตถุประสงคหลักอยางไร

ครูผูสอนควรที่จะมีความรูพื้นฐานอะไร - เสนอแนะกิจกรรมการเรียน และเวลาทีใ่ชในการเรียน - ใหตวัอยางเพือ่ที่จะชี้แนะใหเห็นวาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนจะ

ชวยไดอยางไร และในชวงไหนของวิชานัน้ๆ - ตัวอยางแบบทดสอบกอนการเรียน และหลงัการเรียนพรอมกับเฉลย

2.3.3 คูมือการใชเครื่องคอมพิวเตอร - ช่ือโปรแกรมที่ผูเขียนโปรแกรม ลิขสิทธิ์วันที่แกไขปรับปรุง - ภาษาที่ใช ไฟลตางๆ ขนาดของโปรแกรม

Page 64: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

52

- หนวยความจําของเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถจะใชโปรแกรมนี้ได หรืออุปกรณอ่ืนๆ ที่จะใชรวม

- วิธีการใชโปรแกรมเปนขั้นๆ เร่ิมตั้งแตการเปดเครื่องเปนตนไป - คําส่ังตางๆ ที่จะตองใชกับโปรแกรม - Flow Chart ของโปรแกรม - ตัวอยางของการปอนขอมูล และการแสดงผล - ขอมูลจากการทดสอบโปรแกรมกับกลุมตวัอยาง

3. ขั้นของการประยุกตใช(Instructional Implementation) เปนการประยุกตที่ใชในการเรียนการสอนและการประเมินผล โดยที่นักคอมพิวเตอร

กับครูผูสอนจะตองประเมินรวมกันวา โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นมานี้เปนอยางไร สมควรที่จะนําไปใชงานในการเรียนการสอนหรือไม

3.1 ประยุกตใชในหองเรียน เปนการนําโปรแกรมไปใชในการเรียนการสอน จะตองทําตามขอกําหนดสําหรับการใชโปรแกรม เชน - โปรแกรมที่ออกแบบสําหรับสาธิตทดลอง ครูควรใหนักเรียนไดใชโปรแกรมกอนที่จะเขาหองทําการทดลองจริงๆ - โปรแกรมที่ออกแบบสําหรับการเสริมการเรียนรู ควรจะมีกิจกรรมชั่วโมงสําหรับการใชโปรแกรม - โปรแกรมที่ใชเปนสื่อเสริมใหผูเรียนไดเห็นทั้งชั้น อาจจะตองตออุปกรณในการขยายตอภาพไปสูจอขนาดใหญ เพื่อที่ผูเรียนจะสามารถเห็นไดทั้งชั้น

3.2 ประเมินผล เปนขั้นตอนสุดทายสําหรับการประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ชวยสอนที่สรุปไดวา โปรแกรมที่สรางขึ้นนั้นเปนอยางไร สมควรที่จะนําไปใชในการเรียนการสอนหรือไม สามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ 3.2.1 การประเมินโดยใชแบบทดสอบ เพื่อท่ีจะประเมินวาหลังจากที่ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้แลว ผูเรียนสามารถบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งเอาไวหรือไม โดยท่ีให ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพื่อวัดความกาวหนาของผูเรียน วัดความเขาใจในเนื้อหา ถาผลการทดสอบติดลบหรืออัตราการทําผิดสูงเกินกวา 10 % ก็แสดงวาผูเรียนไมไดพัฒนาความรูเพิ่มเติมแตอยางใด จะตองมีการปรับปรุงตนฉบับ (Storyboard) หรือวัตถุประสงคนั้นใหม 3.2.2 การประเมินผลโดยการใชแบบสอบถาม เพื่อที่จะประเมินในสวนของโปรแกรมและการทํางาน วาการใชโปรแกรมกับเนื้อหาวิชานี้เหมาะสมหรือไม ทัศนคติของ ผูเรียน

Page 65: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

53

ที่มีตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้เปนอยางไร วิธีการใชโปรแกรมยากงายอยางไร วิธีการนําเสนอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีความถูกตอง เนื้อหาเอกสารประกอบ คูมือครู และการมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนอยางไร ระบบชวยสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใชสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในปจจุบันมีอยูหลายๆ โปรแกรม โปรแกรมประเภทนิพนธบทเรียน (Authoring System) ที่ทํางานดวย Object เปนโปรแกรมที่นิยมนํามาใชเปนเครื่องมือชวยสรางบทเรียน

ระบบชวยสอน Authorware Professional สมรักษ ปริยะวาที (2543 : 1) ไดใหคําจํากัดความของระบบชวยสอน Authorware

Professional ไววา “โปรแกรม Authorware จัดเปนโปรแกรม Authoring System ที่ใชในการเรียบเรียงนําเสนอลักษณะ Multimedia ที่มีทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงเพลง เสียงบรรยาย Sound effect และสามารถโตตอบกับผูใชโปรแกรมไดหลายรูปแบบ (Interactive Multimedia)”

คุณสมบัตขิองโปรแกรม สอน Authorware Professional โปรแกรม Authorware Professional มีคุณสมบัติเดน 3 ประการที่สนับสนุนการพัฒนา

งานโดยไมตองกังวลและมีความรูเร่ืองภาษาของโปรแกรม 1. Object Oriented Programming เปนโปรแกรมที่ใชสัญรูป (Icon) ทํางานแทนคําส่ัง

รวมกับการวางโครงสรางของโปรแกรม ทําใหผูสรางสามารถสรางหรือออกแบบโปรแกรมไดอยางงาย

2. Multimedia Tools เปนโปรแกรมที่ประกอบดวยเครื่องมือ Multimedia อยางพรอมมูลทําใหสรางและพัฒนางานที่ประกอบดวยขอความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และนําภาพจาก วีดิโอเขามาอยูรวมกันได ชวยใหงานที่ออกแบบนาสนใจ เหมาะที่จะใชสรางงานและพัฒนางาน นําเสนองานผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การจําลองลักษณะการทํางานไดอยางดีเยี่ยม

3. Multiplatform Architecture เปนความสามารถของโปรแกรมที่ถูกออกแบบใหยืดหยุนตอการใชงาน เชน ทํางานภายใตระบบ Microsoft Windows และบนเครื่อง Macintosh ซ่ึงคําส่ังตางๆ ทั้งสองแบบ ไมมีความแตกตางกันมากนัก นอกจากนี้ยังติดตอกับโปรแกรมภายนอกระบบ ไมวาจะเปนระบบการใชฐานขอมูล หรือระบบคอมพิวเตอรเครือขาย ยกเวนเรื่องของ Multimedia และการทํางานของโปรแกรมในสภาพแวดลอมที่ตางกัน

Page 66: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

54

ซ่ึงคุณสมบัติดังกลาวสามารถนํามาประยุกตกับงานไดอยางกวางขวาง เชน งานนําเสนอ(Presentation) งานผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Aided Instruction)

จากที่กลาวมาแลวสรุปไดวาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีอยู 3 ขั้นตอน คือขั้นตอนการออกแบบโดยมีการวิเคราะหหลักสูตร เนื้อหา ขั้นตอนการสรางโดยการเขียนโปรแกรม และขั้นตอนของการประยุกตใชและประเมินผล

6. งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับคอมพิวเตอรชวยสอน งานวิจัยภายในประเทศ

พิชาน ศาสตรวาทิต (2541 : บทคัดยอ) ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ เร่ือง โลกและดวงดาว ตอน ดาวเคราะห: เพื่อนบานของเรา ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย 1. แบบทดสอบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง ดาวเคราะห:เพื่อนบานของเรา ซ่ึงมีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง .28 - .80 มีคาอํานาจจําแนก(r) อยูระหวาง .24-.65 และมีคาความเชื่อมั่นเทากับ .78 2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง ดาวเคราะห : เพื่อนบานของเรา มีกรอบการเรียนทั้งสิ้น 196 กรอบ โดยนําไปหาประสิทธิภาพกับนักเรียนโรงเรียนกัลยาณวัตร อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2540 ทดสอบกับกลุมตัวอยาง 3 กลุมคือ ทดสอบกับกลุมตัวอยางแบบหนึ่งตอหนึ่งจํานวน 3 คน กลุมตัวอยางแบบกลุมยอย จํานวน 9 คน และกลุมตัวอยางแบบภาคสนาม จํานวน 42 คน ผลจากการคนควาพบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพเทากับ 81.78/81.11 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว

เดชา ทะมานันท (2543 : บทคัดยอ)ไดศึกษาวิจัยการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองไฟฟา ในกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต สําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาไดมาโดยการสุมอยางงาย จํานวน 42 คน ที่กําลัง เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2543 จากโรงเรียนชีพอนุสรณ และโรงเรียนโนนสวางทากระบือ ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน กลุมตัวอยางไดศึกษาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนแบบการสอนซึ่งเปนชนิดเสนตรง กระบวนการหาประสิทธิภาพแบงเปน 3 ขั้นตอน คือ การทดลองหนึ่งตอหนึ่งใชนักเรียนจํานวน 3 คน แบบกลุมเล็กใชผูเรียน 9 คน และ แบบภาคสนามใชนักเรียน 31 คน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมี 105 กรอบ ใชเวลา ในการเรียนประมาณ 60 นาที ผลการศึกษาในคร้ังนี้ พบวาหลังจากที่เรียนบทเรียนเสร็จแลวนักเรียนไดคะแนนจาก การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคิดเปนรอยละ 67.40 เวลาที่ใชในการเรียนโดยเฉลี่ย เทากับ 54 นาที

Page 67: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

55

ศิวิกา อมรรัตนานุเคราะห (2543 : บทคัดยอ)ไดศึกษาวิจัยการพฒันาบทเรยีนคอมพวิเตอรมัลติมีเดียกลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต ชุดสัตว สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดดําเนินการทดลองจํานวน 3 ครั้ง เครื่องมือท่ีใชในการ เก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวย แบบทดสอบระหวางเรียนจํานวน 60 ขอ ซ่ึงมีการนําไปหา ประสิทธิภาพไดคาความเช่ือมั่น .87 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ภายหลังเรียน จํานวน 40 ขอ มีคาความเชื่อมั่น .82 และแบบวัดเจตคติจํานวน 25 ขอ มีคาความเชื่อมั่น .84 ผลการศึกษาพบวา การทดลองหาประสิทธิภาพบทเรียนคร้ังที่ 1 กลุมตัวอยาง จํานวน 3 คน ไดประสิทธิภาพของบทเรียนคือ 88.3/87.5 การทดลองหาประสิทธิภาพบทเรียน คร้ังที่ 2 กลุมตัวอยางจํานวน 9 คน ไดประสิทธิภาพของบทเรียนคือ 92.2/91.6 และ การทดลองครั้งที่ 3 กลุมตัวอยางจํานวน 30 คน ไดประสิทธิภาพของบทเรียนคือ 92.5/91.9 ซ่ึงบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย ชุดสัตวนี้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน ที่กําหนด และจากการศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย ชุดสัตว ปรากฏวานักเรียนมีความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก

อํานาจ ดอกบัว (2543 : บทคัดยอ) ไดดําเนินการวิจัยการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เร่ือง พืช ในกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาไดมาโดยการสุมอยางงาย จํานวน 44 คน ที่กําลังเรียนอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2543 โรงเรียนชีพอนุสรณและโรงเรียนโนนสวางทากระบือ อําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน กําหนดใหกลุม ตัวอยางเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบการสอนชนิดเสนตรง การหา ประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ การทดลองแบบหนึ่ง ตอหนึ่ง กับ กลุมตัวอยาง 3 คน แบบกลุมเล็กกลุมตัวอยาง 9 คน และแบบภาคสนามใชกลุมตัวอยาง 32 คน ซ่ึงใชเวลาเรียนประมาณ 50 นาที ผลการศึกษาพบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจากผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเพิ่มขึ้นรอยละ 20.75

ธิติพันธ จินตเกิดแชม (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง สสารและความรอน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี การวิจัยคร้ังนี้กลุมตัวอยางเปนนักเรียนที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2544 จํานวน 48 คน โดยใชวิธีการกําหนดสัดสวนและการสุม ตัวอยางอยางงาย สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ t-test ผลการวิจัยพบวา 1) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สสารและความรอน ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 86.48/85.40 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว คือ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวากอน การเรียนอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05

สุพัตรา ธิชัย (2544 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับเสริมการเรียนวิชากายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา 1 เร่ือง Anatomy and Physiology of Skeletal Muscular

Page 68: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

56

System ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1 กลุมตัวอยาง จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยจําแนกตามระดับความสามารถทางการเรียน 3 ระดับ (สูง ปานกลาง ต่ํา) การวิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ย และ t-test พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิภาพ 90.17/90.12 ตามเกณฑที่กําหนด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนเสริมดวยคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวาไมไดเรียนเสริมดวยคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักศึกษามี เจตคติตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในระดับดี

เบญญาณิช กิจเตง (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษา เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดดิสหงสาราม เขตราชเทวี กรุงเทพ ฯ ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง ยาเสพติด ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองยาเสพติด สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนเห็นดวยในระดับมากที่สุด กับความคิดเห็นดานลบเกี่ยวกับยาเสพติดและไมเห็นดวยในระดับมากกับความคิดเห็นดานบวกเกี่ยวกับยาเสพติด

งานวิจัยตางประเทศ

ปาง(Pang 1997:Abstract ) ไดศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของการใชเทคโนโลยีกับการสอนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา (program evaluation of technology training and information technology effect on integration of computer based instruction in elementary classroom) ผลการวิจัยพบวา ผลการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขาชวยนั้นสูงขึ้น และไดทําการทดลองใชกับกลุมตัวอยางจํานวน 18 คน กับกลุมตัวอยางอื่น เชนครูผูสอนและบุคลากรอื่นๆอีก 18 คน ซ่ึงใชการศึกษาแบบสังเกตในระยะ 6 เดือน ใชแบบสอบถามและการสัมภาษณ และทดสอบดวยสถิติแบบบรรยาย(descriptive statistics) ผลการวิเคราะหปรากฏวา การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนของนักเรียนมีผลแตกตางกันในทางที่ดีขึ้น

โบรฟร(Brophy 1999:Abstract) ไดทําการศึกษาวิจัย เร่ืองคอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิภาพในหองเรียนวิทยาศาสตรหรือไม เรื่อง ระบบแสงแดด นักเรียนที่เรียนตองไดรับอนุญาตจากผูปกครองกอน ผลของการวิจัยพบวา คอมพิวเตอรชวยสอนเปนอุปกรณการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพในหองเรียนวิทยาศาสตร

สมิทธ(Smith 1999:Abstract) ไดทําการศึกษาวิจัย เรื่อง การเรียนรูการอานออกเสียงคําศัพทภาษาสเปน โดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับนักเรียนในสเปน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 69: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

57

ผลการวิจัยพบวา ไดผลการศึกษาเปนที่นาพอใจ คะแนนของผูเรียนดีขึ้นหลังจากใชคอมพิวเตอร ชวยสอน

เอสเกนิชิ(Eskenazi 2001: 62 – 76) ศึกษาการใชคอมพิวเตอรชวยสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษดวยโปรแกรม Fluency ซ่ึงมหาวิทยาลัย Carnegie Mellon University สรางขึ้นโดยสามารถวิเคราะหเสียงพูดผูที่เรียนดวยภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง และภาษาตางประเทศกับเสียงของเจาของภาษา ผลการทดลองปรากฏวา โปรแกรมสามารถทําใหนักเรียนพัฒนาการออกเสียงสําเนียงภาษาตางประเทศไดดีขึ้น

จากการศึกษาแนวคิดตางๆ ที่ไดจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ ที่ไดกลาวมาแลว สรุปไดวาคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถชวยใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น ใชเวลาเรียนนอยกวาการสอนดวยส่ือประเภทอื่นๆ ที่ใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียน ดวยเหตุนี้จึงทําใหผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาในรูปแบบของการวิจัยและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับเนื้อหาดังกลาวมาใชในการจัดการเรียนการสอน โดยคํานึงถึงประโยชนตอผูเรียนเปนสําคัญ

Page 70: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

58

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับ นักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยไดกําหนดวิธีการดําเนินการวิจัยและรวบรวมขอมูลตาม ขั้นตอนตอไปนี้ คือ

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เนื้อหาวิชาที่ใชในการศึกษาวิจัย 3. ระเบียบวิธีวิจยั 4. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวจิัย 5. การสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 6. ขั้นตอนในการดําเนินการวจิัยและพัฒนา 7. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรที่ศึกษาเปนนกัเรียนในระดับประถมศึกษาปที ่ 5 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาราชบุรี เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 3,952 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางทีใ่ชเปนนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวดัชองพราน อําเภอโพธาราม

จังหวดัราชบุรี จํานวน 30 คน คัดเลือกโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยแบงเปนกลุมตัวอยางตามขั้นตอนการทดลอง ดังนี ้

1. ขั้นทดลองเดี่ยว (one – to – one try out ) หาประสิทธิภาพกับนักเรียน จํานวน 3 คน โดยเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับสูง ระดับกลางและระดับต่ํา ที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนบานหวยยาง อําเภอบานโปง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2

2. ขั้นทดลองกลุมยอย (Small group try out) ทดลองกับนักเรียนจํานวน 9 คน ที่

58

58

Page 71: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

59

เรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนบานหวยยาง อําเภอบานโปง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2

3. ขั้นทดลองภาคสนาม (Field try out) โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการทดลอง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5โรงเรียนวดัชองพราน อําเภอโพธาราม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2 ที่ยังไมเคยเรียนเรื่อง วัสดแุละสมบัติของวัสดุ ในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร จํานวน 30 คน โดยเลือกตวัอยางนักเรียนแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. เนื้อหาวิชาท่ีใชในการศึกษาวิจัย

เนื้อหาที่ใชในการศึกษาวิจยัเปนเนื้อหากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร ในชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 แบงเปนบทเรียน จํานวน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 วัสดใุชในชวีิตประจําวัน ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ

3. ระเบียบวิธีวิจัย

การวิจยัคร้ังนี้เปนการวจิัยและพัฒนา (Research and Development) โดยใชแบบแผนการวิจัยแบบ One-Group Pretest-Posttest Design ดังนี ้

กลุมทดลอง สอบกอน ทดลอง สอบหลัง คาแตกตาง RE T1 X T2 D

เมื่อ R คือ การสุม E คือ กลุมทดลอง T1 คือ การทดสอบกอนเรียน X คือ การสอนดวยบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน T2 คือ การทดสอบหลังเรียน D คือ คาแตกตาง 4. เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยและพัฒนาในครัง้นี้ ผูวิจยัไดแบงออกดังนี้ คือ 1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อใชสอบถามผูเชี่ยวชาญ

Page 72: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

60

2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในเนื้อหา เร่ือง วัสดุและสมบัติของวสัดุ 3. แบบทดสอบเพื่อใชเปนแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

- กอนเรียน จํานวน 30 ขอ - ระหวางเรียน จํานวน 30 ขอ - หลังเรียน จํานวน 30 ขอ

4. แบบสอบถามความคิดเหน็ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

5. การสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 5.1 การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสรางแบบสัมภาษณมีโครงสรางเพื่อใชในการสอบถามความคิดเหน็จาก

ผูเชี่ยวชาญ มขีั้นตอนดังนี ้ 1. ศึกษาจากเอกสารตําราที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสัมภาษณแบบมโีครงสราง

แลวนํามาสรางประเด็นสัมภาษณสอบถาม 2 ดาน คือ 1.1 ดานเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรูวทิยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของ

วัสด ุ 1.2 ดานการออกแบบสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิเคราะหโครงสรางรูปแบบสาระสําคัญทั้ง 2 ดาน

2. สรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อสอบถามความคิดเห็น นําไปใหอาจารยที่ปรึกษาเปนผูตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมและครอบคลุมเนื้อหาของแบบสัมภาษณแบบมี โครงสราง (รายละเอียดดภูาคผนวก ข)

3. นําแบบสัมภาษณแบบมโีครงสรางที่ตรวจสอบแกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทาน และดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3 ทาน (รายช่ือดังภาคผนวก ก) โดยใชการสัมภาษณ

4. วิเคราะหเนือ้หา (Content Analysis) จากผลการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ เพื่อเปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตอไป

จากขั้นตอนการสรางแบบสัมภาษณสามารถสรุปเปนแผนภาพดังนี ้

Page 73: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

61

5.2 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การศึกษาครั้งนี้มุงพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน โดยเลือกเนื้อหาเรื่อง วัสดุ

และสมบัติของวัสดุ มีขั้นตอนดังนี ้ 1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มาตรฐานการเรียนรู

ผลการเรียนรูรายภาค/ป และจุดประสงคการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

2. นําผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณจากผูเชี่ยวชาญ ไปออกแบบพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

3. กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายภาค/ป และจุดประสงคการเรียนรูของบทเรียน กําหนดเนื้อหารูปแบบของบทเรียน และเกณฑการสอบ เพื่อเปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไดดังนี้

แผนภูมิที่ 2 แสดงการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

ศึกษาวิธีการสรางแบบสัมภาษณ เพื่อสรางประเด็นสัมภาษณ

ใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกตองกับประเดน็ทีส่รางแบบสัมภาษณ

นําแบบสัมภาษณไปสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานคอมพิวเตอรชวยสอน ดานละ 3 ทาน เพื่อขอความคดิเห็นและคําแนะนําในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร จํานวน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญการออกแบบสรางบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 ทาน

วิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณเพื่อเปนแนวทาง ในการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน

Page 74: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

62

1. บอกความสาํคัญของวัสดุและจําแนกวัสดุตางๆ ที่ใชในชีวิตประจําวนัได 2. บอกความหมายของความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนยีว การนําความรอน

การนําไฟฟา และความหนาแนนของวัสดไุด 3. บอกหลักการทั่วไปในการใชวัสดุเครื่องใชใหปลอดภัย 4. บอกความแตกตางของของแข็ง ของเหลว และแกสได 5. อธิบายสมบัติทั่วไปของของแข็ง ของเหลว และแกสได

4. ศึกษาการใชโปรแกรมสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ในการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนครั้งนี้เปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบสอนเนื้อหา (Tutorial)

5. จัดทําผังงาน (Flow Chart) และรายละเอียดเกี่ยวกับการวัดผล ประเมินผลและนําโครงรางบทเรียนที่ไดสรางขึ้นไปปรึกษาอาจารยเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมความถูกตองในการออกแบบโปรแกรมเพื่อนําขอสรุปมาใชในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตอไป

6. นําบทดําเนินเรื่อง (Story board) ไปใหผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 คน และผูเชี่ยวชาญดานการสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 3 ทาน ตรวจสอบความเหมาะสมถูกตอง และทําการสัมภาษณขอขอเสนอแนะ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาบทเรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรใหสอดคลองและครอบคลุมกับหลักสูตรและจุดประสงคในรายวิชา (ตัวอยางบทดําเนินเรื่อง ดูภาคผนวก ช )

7. การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรนั้น ผูวิจยัดําเนินการตามขั้นตอนดังนี ้ 7.1 นํา Story Board ที่ไดรับการปรับปรุงแกไขแลว มาเขียนโปรแกรม

บทเรียนคอมพิวเตอรดวยโปรแกรม Macromedia Authorware โดยออกแบบหนาจอในแตละเฟรม ตั้งแตเฟรมเริ่มตน, เฟรมเมนูหลัก, เฟรมเนื้อหา, เฟรมประเมินผล รวมทั้งเฟรมประกอบอื่นๆ ตามผังงานทั้งหมด

7.2 นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางเสร็จแลว ไปใหผูเชี่ยวชาญดาน การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 ทาน และผูเชีย่วชาญทางดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน ประเมินคณุภาพของบทเรียน โดยการใชแบบประเมินคณุภาพบทเรียนคอมพิวเตอรของ กระทรวงศกึษาธิการ ซ่ึงมีลักษณะของแบบประเมินเปนแบบมาตราสวนประเมินคา 5 ระดับ โดยกําหนดคาระดบัความคิดเหน็แตละชวงคะแนนและความหมายดังนี ้

ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสมมาก ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม

Page 75: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

63

ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสมนอย ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสมนอยท่ีสุด

สําหรับการใชความหมายของคาที่วัดได ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑที่ใชในการใหความหมาย โดยไดจากแนวคิดของเบสท (Best 1986 :195)การใหความหมายโดยการใชคาเฉลี่ยเปนรายชวงและรายขอดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมนอยที่สุด

ผลการประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญทั้งดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน และดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 3 ทาน โดยใชแบบประเมินคณุภาพสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ของ กระทรวงศึกษาธิการ เพือ่หาประสิทธิภาพบทเรียน (รายละเอียดดภูาคผนวก ฉ หนา144) แสดงผลดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงผลจากกรรมการการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน

6 ทาน โดยเปนดานเนื้อหา 3 ทานและดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3 ทาน กรรมการประเมินคุณภาพสื่อ

สวนรายการประเมิน ทานที่

1 ทานที่

2 ทานที่

3 ทานที่

4 ทานที่

5 ทานที่

6 คาเฉลี่ย ( X )

1. สวนนําของบทเรียน 4.00 4.00 3.00 4.00 4.00 3.00 3.66 2. สวนของเนื้อหาบทเรียน 3.67 4.83 4.00 4.17 4.17 4.00 4.14 3. การใชภาษา 3.00 5.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4. การออกแบบระบบการสอน 3.33 5.00 3.33 4.17 3.67 3.50 3.83 5. สวนประกอบดาน Multimedia 4.25 4.75 4.25 5.00 4.50 3.75 4.42 6. การออกแบบปฏิสัมพันธ 3.50 5.00 4.00 4.00 4.00 3.50 4.00

รวมคะแนนเฉลี่ย 3.63 4.76 3.76 4.22 4.06 3.63 4.01 แปลความหมาย เหมาะ

สมมาก เหมาะสมมากที่สุด

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

Page 76: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

64

จากตารางที่ 1 จากผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 6 ทานโดยเปนดานเนื้อหาวิทยาศาสตร 3 ทานและดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3 ทาน ไดคาคะแนนเฉลี่ย ( X ) = 4.01 เมื่อนํามาเทียบเกณฑคาเฉลี่ยจะไดที่ชวงคาเฉลี่ย 3.51- 4.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมมาก แสดงวาส่ือบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ผานเกณฑการประเมินมีคุณภาพเหมาะสมมาก และสามารถนําไปใชสอนกับผูเรียนไดเปนอยางดี สําหรับความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญสรุปไดดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 สรุป ความคิดเห็นจากกรรมการประเมินคณุภาพสื่อ ทั้ง 6 ทาน

หัวขอความคดิเห็น สรุปรวมจากกรรมการประเมินคุณภาพสื่อ ทั้ง 6 ทาน 1. สวนนําของบทเรียน กอนทดสอบกอนเรียนควรไดรับปฏิสัมพันธกับเครื่อง

กอนจึงจะดี เพิ่มเวลาในการอานจุดประสงคการเรียนรูแนะนําบทเรียนใหเพิม่เสียงบรรยาย อธิบายปุมตางๆ

2. เนื้อหาของบทเรียน ถูกตองตามหลักวิชา ความยากงายเหมาะสมสอดคลอง แกไขคําผิด การแบงวรรคตอน การเวนวรรคให เหมาะสม ยอหนาใหพองาม

3. การใชภาษา ควรเพิ่มเสียงในเนื้อหาใหเหมาะสม การอานคําควบกล้ําใหชัดเจน

4. การออกแบบระบบการเรยีนการสอน แบบทดสอบกอนเรียนไมตองหนวงเวลา ปรับปรุงขอคําถามของคําที่มีขนาดเล็กเกนิไป เพิ่มขอความในเมนูตอนที่ 1 ,2,3 เวลา Move Over

5. สวนประกอบดานมัลติมีเดีย ออกแบบงายตอการใช สะดวก ควรเพิ่มการตูนกราฟก เพิ่มเสียงการคลิกปุม ปรับเสียง ใหเหมาะกบัเรื่อง เสียงบรรยายชวงจังหวะความชา-เร็ว และ สม่ําเสมอ

6. การออกแบบปฏิสัมพันธ เพิ่มคําเฉลยใหเหมาะสมใหนักเรียนไดทราบคําตอบที่ถูกแบบทดสอบกอนเรียนควรโตตอบไดทันที

จากขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสื่อทั้ง 6 ทาน ผูวิจยัไดนําไปปรับปรุง แกไขบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนตามขอเสนอแนะ

Page 77: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

65

7.3 นําบทเรียนคอมพิวเตอรมาปรับปรุงแกไขขอบกพรองตามที่ผูเชี่ยวชาญ แนะนํา แลวนําโปรแกรมบทเรียนที่ไดไปเขียนลงซีดีรอมตนฉบับและสําเนาโปรแกรมจากตนฉบับเพื่อนําไปทดลองตอไป

8. หาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ ดังนี ้ 8.1 ขั้นทดลองเดี่ยว (One – to-one Try out) ในขั้นนี้เปนการตรวจสอบหา

ขอบกพรองของบทเรียนคอมพิวเตอรในดานตางๆ เชน ความถูกตองของเนื้อหา ความชัดเจนของการนําเสนอเนื้อหา ภาษา คุณภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร ความชัดเจนของตัวอักษรและรูปภาพ ตลอดจนความสอดคลองกับสภาพการเรียนการสอนจริง โดยนําโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นไปทดลองกับนักเรียน ซ่ึงดําเนินการทดลองวันที่ 6 – 7 มีนาคม 2549 โดยทดลองทีละคนกับกลุมตัวอยางจํานวน 3 คน ที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบานหวยยาง อําเภอบานโปง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต2 แลวสังเกตขณะทดลองวามีสวนใดบกพรองบาง แลวให นักเรียนกรอกแบบสอบถามความคิดเห็น ความสอดคลองทางดานภาษา แลวนําผลที่ไดมาวิเคราะหหาประมาณการของประสิทธิภาพของบทเรียนในเกณฑ 60/60 แลวนําขอบกพรองนั้นมาปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปหาประสิทธิภาพของบทเรียนในขั้นตอไป ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามเกณฑ

60 /60 ของขั้นการทดลองเดีย่ว (One- to-one Tryout) คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10)

ตอนที่2 (10)

ตอนที่3 (10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ย( X )

คะแนนสอบหลังเรียน(30)

คาเฉลี่ย ( X )

1 6 5 7 18 60.00 15 50.00 2 6 6 8 20 66.67 18 60.00 3 6 5 6 17 56.67 24 80.00

เฉล่ียรอยละ 61.13 63.33 คาประสิทธิภาพ E1 / E2 = 61.33 / 63.33

จากตารางที่ 3 พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพพบวา รอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคาเทากับ 61.33 และรอยละของคาคะแนนเฉลีย่ของคะแนนการทดสอบ หลังเรียนมีคาเทากับ 63.33 แสดงวา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียน

Page 78: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

66

ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 มีคาเทากับ 61.33/63.33 เมื่อเทียบกับเกณฑ 60/60 ปรากฏวาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด

ผูวิจัยไดนําขอบกพรองที่ไดมาวิเคราะหและนําไปปรับปรุง ดังนี้ 1. ปรับปรุงแกไขภาษาที่ใชในการอธิบายเนื้อหา ใชขอความสั้นๆ กะทัดรัด 2. ปรับปรุงคําส่ังของเมนูหลักใหมีความชัดเจน เพิ่มคําแนะนํา 3. ใชตัวช้ีนําเพื่อเนนสวนสําคัญและดึงดูดความสนใจ เชน ใชลูกศรชี้หรือ

ขีดเสนใต ใชสี และตัวอักษรพิเศษ 4. ปรับปรุงกราฟก ภาพเคลื่อนไหวใหเหมาะสม เชน ความสอดคลองกับเสียงบรรยายทิศทางการเคลื่อนไหว จังหวะและความเร็วของการเคลื่อนไหว 5. อธิบายการทําแบบทดสอบและเลือกแบบทดสอบที่เขาใจงาย

8.2 ขั้นทดลองแบบกลุมยอย (Small Group Try out) ขั้นนี้มีจุดมุงหมายในการทดลอง 2 ประการ คือเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และเพื่อตรวจสอบหาขอบกพรองในการนํามาปรับปรุงแกไข โดยนําโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนที่ปรับปรุงแกไขแลวจากขั้นทดลองเดี่ยวไปทดลองกับนักเรียนกลุมทดลองซึ่งดําเนินการทดลองวันที่ 9 – 10 มีนาคม 2549 โดยทดลองกับกลุมตัวอยางจํานวน 9 คน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบานหวยยาง อําเภอบานโปง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต2 ซ่ึงมีการทดสอบผูเรียนจากแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลที่ไดมาวิเคราะหหาประมาณการของประสิทธิภาพ ของบทเรียนในเกณฑ 70/70 และปรับปรุงแกไขเพื่อทดลองในครั้งตอไป ตารางที่ 4 แสดงการวิเคราะหหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 70/70

ของขั้นทดลองแบบกลุมยอย (Small group Tryout) คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10)

ตอนที่2 (10)

ตอนที่3 (10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ย( X )

คะแนนสอบหลังเรียน(30)

คาเฉลี่ย ( X )

1 7 8 8 23 76.67 19 63.33 2 8 5 6 19 63.33 22 73.33 3 6 9 7 22 73.33 21 70.00 4 6 4 6 16 53.33 18 60.00 5 9 7 8 24 80.00 18 60.00 6 10 9 6 25 83.33 20 66.67

Page 79: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

67

ตารางที่ 4 (ตอ) คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10)

ตอนที่2 (10)

ตอนที่3 (10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ย( X )

คะแนนสอบหลังเรียน(30)

คาเฉลี่ย ( X )

7 8 10 8 26 86.67 24 80.00 8 8 6 6 20 66.67 25 83.33 9 8 5 7 20 66.67 20 66.67

เฉล่ียรอยละ 72.22 69.25 คาประสิทธิภาพ E1 / E2 = 72.22 / 69.25

จากตารางที่ 4 พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพพบวารอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคาเทากับ 72.22 และรอยละของคาคะแนนเฉลีย่ของคะแนนการทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 69.25 แสดงวา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 มีคาเทากับ 72.22/69.25 เมื่อเทียบกับเกณฑ 70/70 ปรากฏวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมี ประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขขอบกพรองเพิ่มเติม กอนใชกับกลุมตัวอยางจริงตอไป โดยไดปรับปรุง แกไขขอบกพรองของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดังนี้ 1. ปรับปรุงรูปแบบการโตตอบกับผูเรียนใหชัดเจน มีตวัช้ีนําในการนาํคําตอบไปใสใหถูกที่ เชน ใชสี ใชลูกศรชี้ 2. ปรับปรุงภาพกราฟกทีใ่ชใหมีความสอดคลองกับเนื้อหา และใหมีการแสดงผลที่รวดเร็ว และมีการโตตอบในทันที 3. เพิ่มการตูนและเสียงพดู เพื่อเราความสนใจ

8.3 การทดลอง ภาคสนาม (Field Try out ) คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดชองพราน อําเภอโพธาราม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต2 ที่ยังไมเคยเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ จํานวน 30 คน โดยทําการสุมตัวอยางนักเรียนแบบเจาะจง ดําเนินการทดลองวันที่ 13 – 15 มีนาคม 2549 ในขั้นตอนนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร โดยทําการทดลองกับกลุมตัวอยางที่เลือกไวจํานวน 30 คน นําผลการทดสอบผูเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียน แบบฝกหัดระหวางเรียนและจาก

Page 80: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

68

แบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลการทดลองที่ไดมาวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1/E2 ทายสุดใหตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ศึกษาหลักสูตรฯ/เนื้อหา และขอมูลการสัมภาษณทีไ่ดจากผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ดาน

กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียน กําหนดเนื้อหา รูปแบบของบทเรียนและเกณฑการสอบ

ศึกษาการใชโปรแกรมสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และกําหนดรปูแบบของโปรแกรมแบบสอนเนื้อหา

นํา Story Board ใหอาจารยทีป่รึกษาและผูเชี่ยวชาญตรวจโครงราง

เขียนโปรแกรมใหครอบคลุมเนื้อหา ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ

ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสรางคอมพิวเตอรชวยสอน 3 คน

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 3 คน

หาประสิทธิภาพของบทเรียน ขั้นทดลองเดี่ยว (One – to –one Try out) 3 คน 60/60

ขั้นทดลองกลุมยอย (Small Group Try out) 9 คน 70/ 70

ปรับปรุง

แผนภูมิที่ 3 แสดงขั้นตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ปรับปรุง

จัดทํา Story Board ออกแบบโครงสรางการนําเสนอเนื้อหาและกิจกรรมของบทเรียน

ไมผาน

ไมผาน

ไดบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสด ุไปทดลองจริง

Page 81: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

69

5.3 แบบทดสอบเพื่อใชในการหาประสิทธิภาพบทเรียน การสรางแบบทดสอบ เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรียน แบบฝกหัดระหวางเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนไดดําเนนิการเปนขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบและการเขียนขอสอบ 2. วิเคราะหหลักสูตรตามเนื้อหาและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนที่ใช ในการทดลอง เพื่อสรางแบบทดสอบใหมคีวามเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและพฤติกรรม และแบงเนื้อหาออกเปนหนวยยอย แลวใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบบทเรียนและหนวยยอย 3. เขียนขอสอบชนิดคําตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 50 ขอ เพื่อนํามาใชเปนแบบฝกหดัระหวางเรียน โดยใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมในเนื้อหาทั้งหมด 4. นําแบบทดสอบที่ใชสําหรับเปนแบบฝกหัดระหวางเรียนไปใหอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวชิาตรวจสอบ และนําไปปรบัปรุงแกไขตามที่ผูเชี่ยวชาญแนะนํา 5. เขียนขอสอบชนิดคําตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 65 ขอ โดยใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ในเนื้อหาทัง้หมด เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 6. นําแบบทดสอบใหอาจารยที่ปรึกษาและผูเช่ียวชาญดานเนื้อหาวิชาตรวจสอบและประเมินคุณภาพของแบบทดสอบ เพื่อหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม (IOC) และนําไปปรับปรุงแกไขตามที่ผูเชี่ยวชาญแนะนํา (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา 146) คัดเลือกขอสอบไวจํานวน 60 ขอ 7. นําแบบทดสอบจํานวน 60 ขอ ไปทดสอบกับนักเรียนที่เคยเรียนเนื้อหาสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ มาแลวจํานวน 30 คน ตรวจใหคะแนนโดยใหคะแนนขอที่ตอบถูกเปน 1 คะแนน และขอท่ีตอบผิดเปน 0 คะแนน แลวคํานวณคะแนนมาตรฐาน (Standard Score) (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา151) 8. นําคะแนนที่ไดจากขอ 7 มาวิเคราะหหาคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก(r) ของแบบทดสอบ (รายละเอยีดดภูาคผนวก ฉ หนา 152) 9. คัดเลือกขอสอบที่มีความยากงายระหวาง .02 - .80 และคาอํานาจจําแนก .20 ขึ้นไป ดวยการนําขอสอบมาวิเคราะหขอมูลเปนรายขอ (Item Analysis) เมื่อไดคาความยากงายและ คาอํานาจจําแนกของขอสอบแลว ผูวิจยัจึงคัดเลือกขอสอบที่จะนํามาใชเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนจํานวน 30 ขอ (รายละเอยีดดภูาคผนวก ฉ หนา 155) 10. นําแบบทดสอบที่ไดจากขอ 9 มาหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับโดยใชสูตร ttr ของ คูเตอร ริชารดสัน ซ่ึงไดคาความเชื่อมั่น ( ttr ) เทากับ 0.70 (รายละเอียดดู ภาคผนวก ฉ หนา 156)

Page 82: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

70

11. นําแบบทดสอบที่ผานเกณฑไปใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียน วัดชองพราน อําเภอโพธาราม ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน

หาคาความเชือ่มั่นของแบบทดสอบโดยใชสูตร KR - 20

ทดลองใชกับนักเรียนที่เคยเรียนเนื้อหาเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ มาแลว จํานวน 30 คน

สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิเคราะหจุดประสงคหลักสูตรพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายภาค จุดประสงครายวิชาสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

ศึกษาแนวทางการสรางแบบทดสอบ

วิเคราะหหาคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบ

เสนอแบบทดสอบใหอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรประเมินแบบทดสอบ เพื่อหาคาดัชนีความสอดคลอง

ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม (IOC)

นําแบบทดสอบที่ผานเกณฑไปใชกับนกัเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดชองพราน อําเภอโพธาราม ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน

ปรับปรุง

แผนภูมิที่ 4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ไมผาน

Page 83: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

71

5.4 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอร แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีขั้นตอนการสรางและหาคณุภาพของเครื่องมือดังนี ้ 1. ศึกษาวิธีการสรางคําถาม จากแบบสอบถามที่มีผูวิจัยคนอื่นๆ ไดสรางขึ้น รวมถึงงานวิจยัและเอกสารที่เกี่ยวของ 2. สรางแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองวัสดุและสมบตัิของวัสด ุ 3. นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวจิัยสรางขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตอง (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา 149) 4. ปรับปรุงและแกไขแบบสอบถามตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญใหตรวจสอบอีกครั้ง 5. นําแบบสอบถามไปทดลองใชเพื่อวดัความเหมาะสมดานภาษา แลวนํามาปรับปรุงใหมีความเหมาะสมดานภาษา (รายละเอยีดดูภาคผนวก ฉ หนา 150) 6. นําแบบสอบถามที่ผานขั้นตอนทั้งหมดไปใชในการทดลองจริง คําถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ จํานวน 20 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนนตามหลกัการของ ลิเคอรท (Likert, อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2540: 107 – 108) ดังนี ้ 5 หมายถึง เหน็ดวยมากที่สุด 4 หมายถึง เหน็ดวยมาก 3 หมายถึง เหน็ดวยปานกลาง 2 หมายถึง เหน็ดวยนอย 1 หมายถึง เหน็ดวยนอยที่สุด และแบบสอบถามปลายเปดเพื่อสอบถามความคิดเห็นอื่น ๆ นําแบบสอบถามความคิดเห็นไปทดสอบกับนักเรียนกลุมตัวอยางหลังจากที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยถือความความคิดเห็นในระดับดี มีคาเฉลี่ย ตั้งแต 3.50 ขึ้นไป คือ

ระดับ 5 คะแนนเฉลี่ยระหวาง 4.50 - 5.00 หมายถึง ผลการประเมินระดับดีที่สุด ระดับ 4 คะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.50 - 4.49 หมายถึง ผลการประเมินระดับด ี ระดับ 3 คะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.50 - 3.49 หมายถึง ผลการประเมินระดับปานกลาง ระดับ 2 คะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลการประเมินระดับนอย ระดับ 1 คะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.00 - 1.49 หมายถึง ผลการประเมินระดับนอยที่สุด

Page 84: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

72

6. ขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย

1. ช้ีแจงวิธีการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

2. ใหกลุมตวัอยางทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) เพือ่วัดพื้นฐานความรูใน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

3. ดําเนินการทดลอง โดยกําหนดใหกลุมตัวอยางนั่งเรียนจากคอมพิวเตอร 1 คนตอ 1เคร่ือง ผูวิจัยอธิบายจุดมุงหมายของการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากนั้นเริ่มทดลอง โดยใชเวลาทดลองเรียน ครั้งละ 1 คาบ ๆ ละ 60 นาที เปนเวลา 3 คาบ ในวันที่ 13 –15 มีนาคม 2549 โดยใหนักเรียนทําแบบฝกหัดระหวางเรียนทุกครั้ง

4. หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน (Post – test)

5. ใหนกัเรียนตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน

6. นําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหทางสถิติ สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง

นําไปทดลองใชเพื่อวัดความเหมาะสมดานภาษา

นําแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นใหอาจารยที่ปรึกษาและ ผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบความถูกตอง

สรางแบบทดสอบ ปรับรายละเอียดใหเหมาะสมและครอบคลุม

ศึกษาแนวการสรางแบบสอบถามจากตําราและเอกสารที่เกี่ยวของ

ไดแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น

แผนภูมิที่ 5 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน

ปรับปรุง

ไมผาน

Page 85: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

73

7. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

ในการจดัทําขอมูลทางสถิติที่ไดจากการทดลอง ดําเนินการดังนี้ 1. สถิติพื้นฐาน

1.1 การหาคาคะแนนเฉลี่ย

X = X = คาเฉลี่ยเลขคณิต ∑ X = ผลรวมของขอมูลทั้งหมด n = จํานวนนักเรยีน

NX∑

ทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) วัดความรูดานเนื้อหา

ดําเนินการทดลอง กับกลุมตัวอยาง โดยใชเวลาทดลองเรียน 3 คาบ ๆ ละ 60 นาที

ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Post - test)

ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ช้ีแจงวิธีการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

วิเคราะหขอมูลทางสถิติ สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง

แผนภูมิที่ 6 แสดงขั้นตอนการดําเนินการทดลอง

Page 86: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

74

1.2 การหาสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน

S.D. =

S.D. = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน ∑ X = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ∑ 2X = ผลรวมของคะแนนแตละตวัยกกําลังสอง n = จํานวนนักเรียน

2. สถิติที่ใชในการวิเคราะหคุณภาพแบบทดสอบ

2.1 การหาคาระดับความยากงายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(p) (บุญเรียง ขจรศิลป 2533 : 116-117)

p = p คือ ระดับความยากงายของขอสอบ คือ จํานวนคนที่ตอบถูกในกลุมสูง คือ จํานวนคนที่ตอบถูกในกลุมต่ํา คือ จํานวนคนทั้งหมดในกลุมสูง คือ จํานวนคนทั้งหมดในกลุมต่าํ

2.2 การหาคาอํานาจจําแนก(r) คํานวณจากสูตรของบุญเรียง ขจรศิลป(2533:116-117)

r =

r คือ คาอํานาจจําแนกของขอสอบ คือ จํานวนคนที่ตอบถูกในกลุมสูง คือ จํานวนคนที่ตอบถูกในกลุมต่ํา คือ จํานวนคนทั้งหมด

( )( )1

22

−∑ ∑nn

XXn

LU

LU

NNRR

++

UR

LR

UN

LN

NRR LU −

UR

LR

N

Page 87: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

75

2.3 การหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใชสูตร ttr ของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder and Richardson 1939: 981 –987) = คือ คาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น k คือ จํานวนขอสอบ p คือ สัดสวนของคนทําถูกในแตละขอ q คือ สัดสวนของคนทําผิดในแตละขอ คือ ความแปรปรวนของคะแนน คือ ผลรวม

3. สถิติที่ใชในการวิเคราะหหาประสิทธภิาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน วิเคราะหโดยใชเกณฑ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากการทาํแบบทดสอบระหวางเรียน ถูกตองรอยละ 80 หรือสูงกวา 80 ตวัหลัง หมายถึง คาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากการทาํแบบทดสอบหลงัเรยีน ถูกตองรอยละ 80 หรือสูงกวา โดยใชสูตร E1/E2 ดังนี้

E1 (Efficiency) =

E1 (Efficiency) = ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระหวางเรียน = คะแนนรวมของแบบฝกหัด N = จํานวนผูเรียน A = คะแนนเตม็ของแบบฝกหัดระหวางเรยีน

E2 (Efficiency) = 100×

⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡∑

BN

F

100×⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡∑

AN

X

∑ X

ttr⎪⎭

⎪⎬⎫

⎪⎩

⎪⎨⎧

−−

∑21

1 tSpq

kk

ttr

2tS∑

Page 88: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

76

E2 (Efficiency) = ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนหลังเรียน = คะแนนรวมของทดสอบหลังเรียน N = จํานวนผูเรียน B = คะแนนเตม็ของแบบทดสอบหลังเรียน

4. ทดสอบความแตกตางของคะแนนวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กอนและหลังเรียน ภายในกลุมตวัอยางกลุมเดียว โดยใชสถิติ t – test แบบ Dependent Sample (ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ 2538 :101)

ใชสูตร t = เมื่อ

∑D = คาความแตกตางระหวางหลังการทดลอง ∑ 2D = คาความแตกตางระหวางหลังการทดลองยกกําลังสอง n = จํานวนกลุมตัวอยาง โดยมี df = 1−n

5. วิเคราะหคาดัชนี ความสอดคลองของแบบสอบถาม (IOC: Index of Item Objective Congruence) (กรมวิชาการ,สํานักทดสอบทางการศึกษา 2546 : 39 ) ใชสูตรดังนี้

IOC = N

R∑

IOC คือ คาดัชนีความสอดคลองที่มีคาอยูระหวาง –1 ถึง + 1

RΣ คือ ผลรวมของการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ N คือ จํานวนผูเชี่ยวชาญ

∑F

)1()( 22

− ∑∑∑

nDDn

D

Page 89: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

77

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5ผูวิจัยนําเสนอผลการดําเนินการวิจัยออกเปน 4 ตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 แนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของ

วัสดุ

ขั้นตอนที่ 2 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5

ขั้นตอนที่ 3 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดจากกลุมตัวอยางจริง จํานวน 30 คน

ขั้นตอนที่ 4 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ขั้นตอนที่ 1 แนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ผูวิจัยไดสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดวยแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ไดผลสรุปการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ดังนี้

77 77

Page 90: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

78

ตารางที่ 5 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวทิยาศาสตร ประเด็น ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

1. การที่สอนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาเรื่องวสัดุและสมบัติของวัสดุ ควรมีการนําเสนอเขาสูบทเรียนรูปแบบใด

- การนําเขาสูบทเรียนดวยส่ือตัวอยาง ของจริง หรือของจําลอง การสนทนา อภิปรายซักถามโดยเนนกระบวนการวิทยาศาสตร

2. เนื้อหาของเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ที่กําหนดขึ้นมานั้นมีความเหมาะสมกับผูเรียนมากนอยเพียงใด

- เนื้อหาทีก่ําหนดมีความเหมาะสมกับวยัผูเรียน - ปรับปรุงเนือ้หา “การเปลี่ยนสถานะของสสาร” โดยเปนเพียงกรอบการเสริมความรู และปรับการแบงตอนใหชัดเจน

3 .การสอนสาระการเรียนรูวทิยาศาสตรในเร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรใชกจิกรรมการสอนอยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพ

- กิจกรรมที่ควรนํามาใช ไดแก การสังเกต การสํารวจ การทดลอง การศึกษาคนควาและ รายงาน ตลอดจนการจดักิจกรรมที่เนนกิจกรรมกลุม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร

4. มีแบบฝกหดั เพื่อฝกใหผูเรียนสามารถเขาใจในเรื่องวัสดุและสมบตัิของวัสดุ ในรูปแบบใด

- แบบฝกที่ใชเปนประเภทการสํารวจ เกม การศึกษาคนควา และรายงานผล และการทํา โครงงาน

5. เกณฑการตดัสินวานกัเรียนสามารถเขาใจในเรื่องวัสดแุละสมบัติของวัสดุ ควรตรวจสอบจากสิ่งใด

- การทดสอบวัดผลจากตอนตางๆ - การทําโครงงาน แฟมสะสมงาน การรายงาน - การสังเกตพฤติกรรมดานกระบวนการวิทยาศาสตร และคุณลักษณะดานจิตวิทยาศาสตร

6. ความตองการใชส่ือการเรียนการสอนที่เปนคอมพิวเตอรชวยสอน มารองรับและเสริมการเรียนเนื้อหาวสัดุและสมบัติของวัสดุ ในดานใดบาง

- ดานเนื้อหา เปนบทเรียนสําเร็จรูป เครื่องมือในการสืบคน - ดานแบบฝกหัด กจิกรรมการทดลองเสมือนจริงหรือเกมการทดลอง

7. ขอดีและขอจํากัดของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กับผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไร

- ขอดี ไดเรียนรูส่ิงที่เปนนามธรรมเปนรูปธรรม เรียนไดตามความสนใจและเขาใจงาย - ขอจํากัด ปฏิบัติจริงไมได และทักษะการใชคอมพิวเตอรของนักเรียน

Page 91: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

79

ตารางที่ 5 (ตอ) ประเด็น ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

8. ขอเสนอแนะอื่นๆ - เนนทกัษะกระบวนการวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร

ตารางที่ 6 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ประเด็น ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ 1. การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน(CAI) ที่เกี่ยวของกับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรมีลักษณะใด

- ใชโปรแกรม Author ware เปนหลักในการสรางบทเรียน - เนนการเรียนรูที่เปนทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร - มีโครงสรางไมซับซอนเราความสนใจผูเรียน และมีเทคนิคในการนําเสนอ

2. การนํา Multimedia มาประกอบใน CAI เพื่ออธิบายเนือ้หา เร่ืองวัสดแุละสมบัติของวัสดุ มีความเหมาะสมเพยีงใด อยางไร

- ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน Multimedia มีความสําคัญมาก ซ่ึงจะเราความสนใจของบทเรียน โดยมภีาพเคลื่อนไหว การตูน กราฟก เสียงดนตรีและเสียงบรรยาย - กราฟกตางๆ ส่ือความไดชัดเจน มีสีสันสดใส กับวยัผูเรียน

3. แบบฝกใน CAI ที่เหมาะสมกับเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ตามศักยภาพของตวัส่ือ ควรเปนรูปแบบใด

- การทดสอบหรือเกมตางๆ เชน จับคู เติมคํา - แบบทดสอบแบบเลือกตอบ มีเฉลยคําตอบ - จํานวน 10 ขอเปนอยางนอย ในแตละตอน

4. รูปแบบการวัดและประเมนิผลการเรียนใน CAI ที่ควรนํามาใชในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

- แบบวดัผลที่เปนขอสอบตัวเลือก โดยสุมมาตอนละ 5 – 10 ขอ - เปนแบบทดสอบที่สอดคลองกับจุดประสงค - อาจเปนแบบทดสอบที่เปนเกม มีการแสดงผล - การวดัผลโดยการสังเกตพฤติกรรมของผูเรียน - จํานวน 20 ขอเปนอยางนอย

Page 92: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

80

ตารางที่ 6 (ตอ) ประเด็น ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

5. ทิศทางการพัฒนาสื่อ CAI ที่เกี่ยวของกบัสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและโปรแกรมเสริมการเรียนการสอนบทเรียน เร่ืองวัสดแุละสมบัติของวัสดุ

- กระบวนการวิทยาศาสตร - เปนสื่อที่เสนอเนื้อหาแตกตางจากหนังสือเรียน - โปรแกรมทีค่วรนํามาใชไดแก Flash , PhotoShop , 3 Ds Maxปรแกรมที่ชวยสรางการตูน Animation เชน Ulead GIF Animator , โปรแกรมดานเสียง เชน Sound Forge , Mp3&Wav converter

6. ขอดีและขอจํากัดของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กับผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไร

- ขอดี 1. ทําใหผูเรียนสนใจบทเรียน เรียนรูตลอดเวลา 2. หลีกเลี่ยงส่ิงที่เปนอันตรายทางวิทยา- ศาสตร - ขอจํากัด 1. ไมสามารถปฏิบัติไดจริง 2. ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร

7. ขอเสนอแนะอื่นๆ - การออกแบบการสราง CAI ตองใหมีความนาสนใจ เราความสนใจของผูเรียนใหอยากเรียนรู - วางแผนการสรางบทเรียน จัดขนาดขอมลูตางๆ ใหมีขนาดเล็ก และเปนระบบ - มีการใชงานบทเรียนที่งายตอการควบคุม การดําเนินเรื่องตองกระชับ - เสียงบรรยายตองมีความชดัเจน - ขนาดอักษร 18 -24 พอยท

จากการวิเคราะหขอมูลขางตนพบวา ผูเชี่ยวชาญตองการใหพัฒนาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่มีความแตกตางจากหนังสือเรียนทั่วไป มีความงายตอการเรยีนรู เราความสนใจ หลากหลายในรูปแบบ เสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว Multimedia ที่นาสนใจ ผูเรียนมีอิสระในการเรียนรู

Page 93: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

81

ควบคุมบทเรียนดวยตนเอง โดยเฉพาะเนื้อหาวิทยาศาสตรที่ตองเนนความเขาใจในกระบวนการวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรดวย (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา 138-143) ขั้นตอนที่ 2 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5

ผูวิจัยไดดําเนนิการทดลองกบันักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดชองพราน อําเภอโพธาราม สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาราชบุรี เขต2 ที่ยังไมเคยเรียนสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสด ุจํานวน 30 คน เมื่อวันที่ 13 – 15 มีนาคม 2549 และนําผลการทดสอบผูเรียนจาก แบบฝกหัดระหวางเรียนและจากแบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลการทดลองที่ไดมาวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1/E2 ผลการประเมินดังตาราง 7-8 ตารางที่ 7 แสดงประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน จากกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 คะแนนการทดสอบระหวางเรียน นักเรียน

( 30 คน) ตอนที่ 1 (10 คะแนน)

ตอนที่ 1 (10 คะแนน)

ตอนที่ 1 (10 คะแนน)

คะแนนการทดสอบ หลังเรียน

(30 คะแนน) คะแนนเฉลี่ย( X ) 7.23 8.06 8.77 24.23 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.43 1.82 1.28 3.58 เฉล่ียรอยละ 72.33 80.67 87.66 80.78 คาประสิทธิภาพ E1/E2 80.22 80.78

ตารางที่ 8 สรุปผลประสิทธิภาพของบทเรยีน คอมพวิเตอรชวยสอน ขัน้ทดลองภาคสนาม

( Field Try out) ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมตัวอยาง 30 คน ประสิทธิภาพของกระบวนการ

(E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ

(E2)

เกณฑประเมิน

80.22 80.78 80/80

Page 94: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

82

จากตารางที่ 7-8 ผลปรากฏวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพรอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหวางเรียน(E1)มีคาเทากับ 80.22 และรอยละของคาคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังเรียน(E2)มีคาเทากับ 80.78 แสดงวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 80.22/80.78 เมื่อเทียบกับเกณฑ 80/80 ปรากฏวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนด (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา157) ขั้นตอนที่ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5

ผลจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู ของนักเรยีนที่เรียนกอนและหลังดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 30 คน มีรายละเอียดดังนี ้ตารางที่ 9 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน-หลังเรียนและความกาวหนา คนที่ คะแนนกอนเรยีน(x1) คะแนนหลังเรยีน(x2) คะแนนความกาวหนา(x2-x1)

1 13 20 7 2 18 22 4 3 11 27 16 4 12 30 18 5 15 18 3 6 14 18 4 7 15 20 5 8 13 19 6 9 19 23 4 10 22 30 8 11 19 21 2 12 16 22 6 13 15 26 11 14 10 18 8 15 11 23 12

Page 95: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

83

ตารางที่ 9 (ตอ) คนที่ คะแนนกอนเรยีน(x1) คะแนนหลังเรยีน(x2) คะแนนความกาวหนา(x2-x1) 16 13 24 11 17 12 29 17 18 15 26 11 19 17 29 12 20 17 29 12 21 12 22 10 22 10 22 12 23 18 30 12 24 19 26 7 25 13 25 12 26 13 24 11 27 22 29 7 28 14 22 8 29 16 26 10 30 11 25 14 รวม 445 725 280 เฉล่ีย 14.83 24.17 9.34

ตารางที่ 10 แสดงผลการวิเคราะหการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและ

หลังเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การทดสอบ N คะแนนเต็ม X S.D. t กอนเรียน 30 30 14.83 3.32 หลังเรียน 30 30 24.17 3.85

12.352

**p < 0.01 จากตารางที่ 9-10 คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลงัเรยีนดวย

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคาเฉล่ียคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ( X = 24.17 , S.D. = 3.85) สูงกวากอนเรียน

Page 96: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

84

ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน( X = 14.83 , S.D. = 3.32) และจากการคํานวณพบวาคา t ที่คํานวณได (t = 12.352) มีคามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว (t จากตารางที่ระดับ α .01 , df = 29 , t = 2.462) กลาวคือ คะแนนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงใหเห็นวาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ทําใหนักเรียนมีความรูเพิ่มมากขึ้น (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา 159) ขั้นตอนที่ 4 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นท่ี 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5

ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ จํานวน 30 คน ดังรายละเอียดในตาราง ตารางที่ 11 แสดงผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ระดับความคิดเห็น รายการประเมนิ X S.D. แปลผล ลําดับที่

ดานการออกแบบบทเรียน

1. นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามความตองการได 4.50 0.57 ดีที่สุด 15 2. รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา 4.57 0.63 ดีที่สุด 12 3. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และสีสันสวยงาม 4.70 0.53 ดีที่สุด 5 4. บทเรียนมีกจิกรรมโตตอบหลากหลาย 4.53 0.82 ดีที่สุด 14 5. การเลือกและจบโปรแกรมสามารถกระทําไดงาย 4.73 0.58 ดีที่สุด 4

ความคิดเห็นดานเนื้อหา

6. คําอธิบายเนือ้หาชัดเจน 4.63 0.61 ดีที่สุด 9 7. การจัดลําดบัเนื้อหาในแตละบทเรียนเหมาะสม 4.67 0.55 ดีที่สุด 7 8. แบบฝกหัดในแตละบทเรยีนมีจํานวนขอเหมาะสม 4.60 0.56 ดีที่สุด 10 9. การใหขอมลูยอนกลับชวยใหเขาใจบทเรียน 4.60 0.67 ดีที่สุด 11 10.แบบทดสอบกอน-หลังเรียนสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน

4.50 0.73 ดีที่สุด 17

11.เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวนัได 4.50 0.63 ดีที่สุด 16

Page 97: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

85

ตารางที่ 10 (ตอ) ระดับความคิดเห็น รายการประเมนิ

X S.D. แปลผล ลําดับที่ ความคิดเห็นดานความพงึพอใจในการเรียน

12.นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึน้ที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

4.67 0.55 ดีที่สุด 7

13.คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ 4.73 0.52 ดีที่สุด 3 14.นักเรียนไมรูสึกเสียหนาเมื่อตอบคําถามผิด 4.50 0.82 ดีที่สุด 18 15.นักเรียนสามารถเรียนไดนาน ๆ โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือปวดตา

4.30 0.79 ดี 20

16.นักเรียนรูสึกพอใจเมื่อไดตอบคําถามดวยวิธีเลือกคําตอบ

4.77 0.43 ดีที่สุด 2

17.นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน 4.70 0.59 ดีที่สุด 6 18.นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน 4.40 0.72 ดี 19 19.นักเรียนเรียนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย 4.53 0.73 ดีที่สุด 13 20.นักเรียนอยากใหเพื่อนนกัเรียนคนอื่นมีโอกาสเรียนดวยคอมพิวเตอรบาง

4.80 0.55 ดีที่สุด 1

รวม 4.59 0.64 ดีที่สุด จากตารางที่ 10 พบวา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยภาพรวมความคิดเห็นอยูในระดับดีที่สุด ( X = 4.59 ,S.D. = 0.64) เนื่องจากบทเรียนมีความสนุกสนาน เขาใจงาย เรียนรูไดอยางอิสระ โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. นักเรียนมีความคิดเห็นดานการออกแบบบทเรียน อยูในระดับดีที่สุดทุกขอ ขอท่ีไดคาเฉลี่ยมีความคิดเห็นดีที่สุดตามลําดับคือ การเลือกและจบโปรแกรมสามารถกระทําไดงาย ( X = 4.73, S.D. = 0.58) รองลงมาคือ ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และสีสันสวยงาม( X = 4.70 , S.D. = 0.53) รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา( X = 4.57 , S.D. = 0.63) บทเรียนมีกิจกรรมโตตอบหลากหลาย ( X = 4.53 , S.D. = 0.82) และนักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนไดตามความตองการ ( X = 4.50 , S.D. = 0.57)

2. นักเรียนมีความคิดเห็นดานเนื้อหา อยูในระดับดีที่สุดทุกขอ ขอท่ีไดคาเฉลี่ยมีความคิดเห็นดีที่สุดตามลําดับคือ การจัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนเหมาะสม( X = 4.67, S.D. = 0.55)

Page 98: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

86

รองลงมาคือ คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน ( X = 4.63, S.D. = 0.61) แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม ( X = 4.60, S.D. = 0.56) การใหขอมูลยอนกลับชวยใหเขาใจบทเรียน ( X = 4.60 , S.D. = 0.67) เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได ( X = 4.50, S.D. = 0.63) และแบบทดสอบกอน-หลังเรียนสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน( X = 4.50, S.D. = 0.73)

3. นักเรียนมีความคิดเห็นดานความพึงพอใจในการเรียน ขอท่ีไดคาเฉลี่ยมีความคิดเห็น ดีที่สุดตามลําดับคือ อยากใหเพื่อนนักเรียนอื่นมีโอกาสเรียนดวยคอมพิวเตอรบาง ( X = 4.80, S.D. = 0.55) รองลงมาคือ นักเรียนรูสึกพอใจเมื่อไดตอบคําถามดวยวิธีเลือกคําตอบ( X = 4.77, S.D. = 0.43) และคอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ ( X = 4.73, S.D. = 0.52) นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน ( X = 4.70, S.D. = 0.43) นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง ( X = 4.67 , S.D. = 0.55) นักเรียนเรียนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย ( X = 4.53, S.D. = 0.73) นักเรียนไมรูสึกเสียหนาเมื่อตอบคําถามผิด ( X = 4.50, S.D. = 0.82) นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน ( X = 4.40 S.D. = 0.72) และนักเรียนสามารถเรียนไดนาน ๆ โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือปวดตา( X = 4.30 , S.D. = 0.79)

ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นปลายเปด ซ่ึงเปนการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สรุปไดวา นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีและเห็นประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เพราะขณะเรียนมีความรูสึกชอบ สนุก และอยากเรียนทบทวนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอีก ดวยทําใหเขาใจเนื้อหาไดดี มีความมั่นใจในการเรียนดวยและตองการใหเพิ่มรูปแบบอื่นๆ ในบทเรียน เชน เกม แบบฝกหัด

Page 99: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

87

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้

1. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

2. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรยีน ชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว

3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

4. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติ

ของวัสดุ สําหรับนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ตัวแปรตาม ไดแก 1. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบตัิของวัสดุ สําหรับนักเรยีนในชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5

2. ความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบตัิของวัสด ุ

ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาคนควา การวิจัยในครั้งนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ในระยะ เวลา 3

คาบๆ ละ 60 นาที โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แลวใหผูเรียนเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําแบบฝกหัดระหวางเรียน หลังจากเรียนจบแลว ใหทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทําแบบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอบทเรียน

87 87

Page 100: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

88

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย 1. ประชากร ประชากรที่ศึกษาเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาราชบุรี เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 3,952 คน 2. กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรยีนระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียน วัดชองพราน อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี จํานวน 30 คน คัดเลือกโดยการเลอืกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรียนชวงชั้น

ที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วสัดุ

และสมบัติของวัสดุ สําหรับนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดบัประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 30 ขอ 3.แบบสอบถามความคิดเหน็ของผูเรียนที่มีตอการเรียนบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน

เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสดุ

วิธีดําเนินการทดลอง 1. ช้ีแจงวิธีการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ 2. กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบกอนการทดลอง ( Pretest ) เพื่อวัดพื้นฐานความรูใน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 3. ดําเนินการทดลอง โดยกําหนดใหกลุมตัวอยางนั่งเรียนจากคอมพิวเตอร 1 คน ตอ

1 เครื่อง ผูวิจัยอธิบายจุดมุงหมายของการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากนั้นเริ่มทดลอง โดยใชเวลาทดลองเรียน ครั้งละ 1 คาบ ๆ ละ 60 นาที ตอสัปดาห เปนเวลา 3 คาบ โดยดําเนินการทดสอบระหวางเรียน ทุกครั้ง

4. หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียน (Post – test)

5. ใหนกัเรียน ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน

Page 101: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

89

การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใช 1. วิเคราะหเพื่อหาประสิทธิ์ภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามเกณฑ 80/80

โดยใชสูตร E1/ E2 2. ทดสอบความแตกตางของคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดย

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกอนและหลังเรียน ภายในกลุมตัวอยางกลุมเดียว โดยใชสถิติ t – test แบบ Dependent Sample

3. วิเคราะหคาความคิดเหน็ของนักเรียนที่มตีอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สรุปผลการวิจัย การวิจัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สรุปผล การวิจัยดังนี้

1. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญตอการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนพบวา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ตองการใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เนนกระบวนการวิทยาศาสตร แบบฝกหัดใหมีความหลากหลาย นาสนใจ เปนลักษณะเกมการทดลอง ใหมีเนื้อหาสาระตรงตามจุดประสงค เหมาะสมกับวัยผูเรียน มีกิจกรรมที่หลากหลายงายตอการเรียนรู เพื่อใหเกิดแรงจูงใจกับนักเรียนมาก ที่สุด ผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอร ตองการใหมีภาพเคลื่อนไหว กราฟกที่ส่ือความไดชัดเจน สีสันสดใสกับวัยผูเรียน และโครงสรางไมซับซอน เราความสนใจและมีเทคนิคในการนําเสนอ การดําเนินเรื่องมีความกระชับ

2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เทากับ 80.22/80.78 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 โดยคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน( X = 24.17 , S.D. = 3.85) สูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ( X = 14.83 S.D. = 3.32) และคา t ที่คํานวณได(t = 12.352) มีคามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว(t จากตารางที่ระดับ α .01 , df = 29 , t = 2.462) กลาวคือ คะแนนหลังการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 102: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

90

4. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา โดยภาพรวมความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ อยูในระดับดีที่สุด ( X = 4.59 , S.D. = 0.64) การอภิปรายผลการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สามารถนําไปสูผลการอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จากการสัมภาษณผูเช่ียวชาญ ทําใหไดแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยมีประเด็นการสัมภาษณในหัวขอของเนื้อหา และดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผลปรากฏวาผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ดานมีความคิดเห็นที่ตรงกันคือ ตองการใหบทเรียนมีเนื้อหาเรียงลําดับจากงายไปหายาก การประเมินผลชัดเจนตามจุดประสงคการเรียนรู มีแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ซ่ึงผูเชี่ยวชาญใหความคิดเห็นเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ตามประเด็นตางๆ ดังนี้ 1.1 รูปแบบการนําเสนอเขาสูบทเรียน ผูเชี่ยวชาญตองการใหบทเรียนเปนเรื่องที่เนนกระบวนการทางวิทยาศาสตร และสามารถนําไปบูรณาการใชในชีวิตจริง มีภาพประกอบใหเห็นไดชัดเจนสื่อความหมายไดตรงกับเนื้อหา เนื้อหางายไมซับซอน ควรนําภาพที่เปนภาพถายของจริงหรือของจําลองมาอธิบาย สอดคลองกับแนวคิดของไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533 : 66) กลาววา การนําการสูบทเรียนครูควรมีการเรียกความสนใจ เพื่อนําเขาสูบทเรียน นักเรียนพรอมที่จะเรียนโดยการเลือกสิ่งเรา เชน รูปภาพ ภาพยนตร การใชคําถาม การสาธิต การบอกใหผูเรียนทราบจุดประสงคการสอนดวยการใชคําถามหรือบรรยายเพื่อทบทวนความรูเดิม แลวนําไปเชื่อมโยงกับความรูใหมใหมีความพรอมกอนเรียนตอไป และสอดคลองกับแนวคิดของรุจรดา จรูญชัยคณากิจ (2547 :64) ที่กลาววาการนําเสนอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ดีควรเราความสนใจผูเรียนตั้งแตการเขาสูบทเรียน ใหมีเจตคติที่ดีตอวิชา จะทําใหผูเรียนเรียนอยางมีความสุข สนุกสนานในการเรียน ดังนั้นเพื่อดึงดูดผูเรียน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจึงเนนการออกแบบจัดทําหนานําเรื่อง (title page) เพื่อชักชวนผูเรียนใหสนใจเขาสูบทเรียน

Page 103: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

91

1.2 เนื้อหาของบทเรียน ผูเชี่ยวชาญใหความคิดเห็นวาควรจัดทําเนื้อหาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง เนื้อหาตองถูกตองตามหลักวิชา โดยการศึกษาเรื่องที่ใกลตัวไปเรื่องที่ไกลตัว ใหมีความยากงายเหมาะสมสอดคลองกับวัยผูเรียนและแบงออกเปนตอน ๆ ใหชัดเจน ใหผูเรียนไดฝกสังเกตและศึกษาจากภาพของจริง หรือเปนภาพกราฟกที่มีลักษณะสามมิติมาอธิบายจะทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดรวดเร็วขึ้น ผูเรียนเขาถึงเนื้อหาไดงาย มีการเชื่อมโยงจุดตางๆและเขาถึงบทเรียนแตละตอนตลอดเวลา ควรใหผูเรียนเกิดการเรียนรูแบบ ตื่นตัว สนุกสนานไมเครียดกบัการอานตัวหนังสือในบทเรียน ดวยการใชการตูนกราฟกเปนสื่อใหความรูเพื่อชักจูงความสนใจใหกับนักเรียน และขนาดตัวหนังสือใหชัดเจนเหมาะกับนักเรียน ภาพที่ใชควรเปนภาพที่มีมิติเหมือนจริง สรางสรรค ชัดเจน เหมาะสมกับวัยผูเรียน สอดคลองกับแนวคิดของพงษพันธ พงศโสภา(2542 : 86)ที่กลาววาการนําเสนอเนื้อหาของบทเรียนควรทําใหผูเรียนไมรูสึกวากําลังเรียนอยู เปนการยืดเวลาในการมีสมาธิอยูกับบทเรียนใหนานขึ้น สอดคลองกับทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning) ของพาฟลอฟ(Pavlov) ที่กลาววาเมื่อนําสิ่งเราแทหรือส่ิงเราที่ไมตองวางเงื่อนไขมาจับคูกับส่ิงเราเทียมหรือส่ิงเราที่ตองวางเงื่อนไขหลายๆ ครั้ง เปนระยะตอเนื่องกัน ตอมาหยุดสิ่งเราแท เหลือเพียงสิ่งเราเทียมแลวปฏิกิริยาตองสนองของอินทรียที่มีตอส่ิงเราเทียมจะยังคงมีอยูตอไป ดังนั้นเมื่อนําส่ิงที่นักเรียนชื่นชอบมาไวคูกับบทเรียน จะทําใหนักเรียนรูสึกชอบบทเรียนนั้นไปดวย

1.3 รูปแบบของแบบฝกหัด ควรมีรูปแบบหลากหลายไมควรเปนแบบหลาย ตัวเลือกจะทําใหผูเรียนเบื่อ ไมควรเนนตัวหนังสือมากเกินไป เปนแบบฝกที่ลักษณะเกม การจับคู โยงเสน ถูกผิด เติมคํา ควรมีผลยอนกลับ(Feedback) ผูเรียนจะไดเกิดแรงจูงใจ ควรมีสีทั้งขอความและพื้นหลังสวยงามเหมาะสมชัดเจน การมีปฏิสัมพันธในแบบทดสอบใหเพิ่มคําเฉลยใหเหมาะสมเพื่อใหนักเรียนไดทราบคําตอบที่ถูกโตตอบไดทันที สอดคลองกับแนวคิดของรุจรดา จรูญชัยคณากิจ (2547 :65) ที่กลาววา แบบฝกหัดที่ดีควรหลากหลายและเพียงพอใหผูเรียนไดฝกทักษะ เชน เลือกตอบ การลากวาง การเติมขอความ ซ่ึงควรมีรูปภาพประกอบดวย แบบฝกหัดไมควรยากเกินไป มีการเฉลยคําตอบ ผูเรียนสามารถทราบผลไดทันที ผูเรียนสามารถโตตอบได และมีการเสริมแรงเมื่อผูเรียนตอบแบบฝกหัดดวย และสอดคลองกับทฤษฎีการเสริมแรงของสกินเนอร(Skinner) ที่กลาววา ส่ิงมีชีวิตไมวามนุษย หรือสัตว เมื่อกระทําพฤติกรรมใดก็ตาม และไดผลตอบสนองเปนที่นาพอใจ ส่ิงมีชีวิตนั้นก็จะเกิดกําลังใจที่จะทําพฤติกรรมนั้นอีกตอไป ดังนั้นเมื่อนักเรียนตอบคําถามในบทเรียนไดถูกตอง นักเรียนก็จะไดรับแรงเสริมใหมีกําลังใจที่จะเรียน เรียนดวยความเต็มใจและสนุกสนานตอไป (กรมวิชาการ 2544 :51)

Page 104: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

92

1.4 การวัดและประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ควรมีครบทั้ง 3 ดาน คือดานความรู ดานทักษะ และดานเจตคติ มีการประเมินกอนเรียนและหลังเรียน ประมาณ 20 – 30 ขอ การประเมินผลชัดเจนตามจุดประสงคการเรียนรู มีเกณฑการวัดผลประเมินผลชัดเจนโดยใชแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน และเพิ่มดานปฏิสัมพันธใหมากขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของเชษฐพงศ คลองโปรง (2544 : 21) ที่กลาววา บทเรียนที่ดีควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูเรียนอยางเหมาะสม ควรหลีกเลี่ยงคําถามที่งายและตรงเกินไป ควรหลีกเล่ียงคําหรือขอความในคําถามที่ไรความหมาย การตัดสินคําตอบควรใหแจมแจงไมคลุมเครือ และไมเกิดความสับสนหรือขัดแยงกับคําตอบ

1.5 ขอดีและขอจํากัดของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กับผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรผูเชี่ยวชาญใหความคิดเห็นวา ผูเรียนไดเรียนรูส่ิงที่เปนนามธรรมใหเปนรูปธรรมที่เขาใจงาย มีความนาสนใจ ผูเรียนเรียนรูไดตลอดเวลา และหลีกเลี่ยงอันตรายทางวิทยาศาสตรการทดลองตางๆ ได จากคุณลักษณะของคอมพิวเตอรชวยสอน จะเห็นไดวาเปนส่ือที่จะทะใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางดี เพราะผูเรียนสามารถมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูตามแบบการสื่อสองทาง (Two-way Communication) นอกจากนี้ยังเปนส่ือที่ตอบสนองความแตกตางระหวางผูเรียน ดวยคอมพิวเตอรชวยสอนใชหลักการโตตอบกับผูเรียนเปนรายบุคคลใหโอกาสผูเรียนไดเรียนตามความสามารถโดยเลือกเรียนและควบคุมความกาวหนาในการเรียนของตนเองไดมากกวาสื่อการสอนชนิดอื่น สอดคลองกับแนวคิดของถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541ข:13)ที่กลาวถึงประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนวาผูเรียนก็สามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองในเวลาและสถานที่ซ่ึงผูเรียนสะดวก เชน แทนที่จะตองเดินทางมายังชั้นเรียนตามปกติ ผูเรียนก็สามารถเรียนดวยตนเองจากที่บาน นอกจากนั้นยังสามารถเรียนในเวลาใดก็ไดตามที่ตองการ คอมพิวเตอรจะชวยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรูใหแกผูเรียน เนื่องจากคอมพิวเตอรนั้นเปนประสบการณที่แปลกใหม ทําใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูมากขึ้น สําหรับขอจํากัด การเรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหผูเรียนขาดมนุษยสัมพันธ เพราะอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรตลอดเวลา ผูเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับเด็กสามารถแกปญหานี้ได โดยการสรางกิจกรรมการเรียนใหเด็กตองทํากิจกรรมรวมกัน

1.6 ทิศทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตองการใหรูปแบบมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนไดตลอดเวลาจะทําใหผูที่เขามาศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดถูกวิธี ในการจัดสรางส่ือควรวางแผนการจัดทําโครงสรางที่งายไมซับซอน งายตอการใช สะดวก การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ใหมีคุณภาพมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดตองอาศัยขั้นตอนในการออกแบบเปนสําคัญ ถาสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบไมมีขั้นตอนและโครงสรางที่ชัดเจน

Page 105: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

93

จะทําใหส่ือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไมตรงกับวัตถุประสงคและความตองการ ของผูเรียนจะทําใหส่ือไมมีประสิทธิภาพ ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน อนันตเดช ประพันธพจน (2528 : 20-21) ไดกลาววาเปนกระบวนการทีสํ่าคัญที่ตองการความละเอยีดรอบคอบมีจิตสํานึกของวิธีการเชิงระบบ (System approach) ผูสรางตองระลึกอยูเสมอวาบทเรียนนี้จะสรางขึ้นนั้น จะทําการสอนโดยไมมีครูปรากฏตอหนานักเรียน ไมมกีารกํากับการเรียนทีละขั้น ดงันั้นการสรางบทเรียนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนจะตองมีการวางแผนลวงหนาอยางดีมีระบบ การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีขั้นตอนตาง ๆ ในการสรางดงันี้

1. ศึกษาหลักสูตรและกลุมเปาหมาย เพื่อทราบรายละเอียดของวิชานั้น กําหนด หลักสูตรวาเนื้อหารายวิชาอยางไร และยังตองศึกษาประสบการณของผูเรียนอีกดวย

2. การกําหนดจุดประสงคการเรียนรู คือ การกําหนดจุดประสงคใหสอดคลองกับ หัวเร่ือง โดยมีการกําหนดจุดประสงคทั่วไป เพื่อเปลี่ยนไปในเชิงพฤติกรรมใหชัดเจน

3. วิเคราะหเนือ้หา จัดทําแผนภูมิ โดยอาศยัจุดประสงคเชิงพฤติกรรม วิเคราะหและ จําแนก ออกเปนหนวยยอยๆ เพื่อความเหมาะสมของเวลา ใหผูเรียนสามารถติดตามเนื้อเร่ืองไดอยางตอเนื่องชัดเจน

4. การสรางแบบทดสอบระหวางเรยีนและหลังเรียน ตองใชเกณฑตามจุดประสงค การเรียน แบบทดสอบที่นยิมใชในการสรางบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่มกัเห็นมี 3 แบบดวยกันคือ แบบทดสอบกอนเรยีน แบบทดสอบขณะเรยีนหรือแบบทดสอบระหวางเรียน และแบบทดสอบหลังเรยีน

5. การเลือกโปรแกรมภาษาที่ใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถ ทําได 2 วิธี คือ การใชภาษาคอมพิวเตอรและการใชโปรแกรมสําเร็จรูป

6. การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตองกะทัดรัดมีประโยชนและสามารถ เรียนรูงาย ขอความในกรอบตองสอดคลองกัน โดยทัว่ไปแตละหนวยยอยจะแบงเนือ้หาดวยกรอบขอความตาง ๆ กัน เชน กรอบหลัก ( Set Frame) กรอบฝกหัด ( Practice frame) กรอบสงทาย ( Terminal Frame ) และกรอบรองสงทาย ( Sub-Terminal) 7. การสรางสื่อประกอบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนการทําแผนการเรียนแบบ- ฝกหัดและการสรางคูมือการไปในตัว โดยมีคํานํา สารบัญ รายละเอียดลักษณะโปรแกรม วัตถุประสงค แผนการเรียน แบบทดสอบกอนและหลังเรียน หรืออ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับการใชโปรแกรม 8. ตรวจสอบความเรียบรอยและทดลองใหใชกับกลุมเปาหมายกอน เพื่อหาขอบกพรอง และปรับปรุงกอนใชจริง

Page 106: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

94

9. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คือการนําบทเรียนที่สราง ไปทดลองใช เพื่อนํามาปรับปรุงแลวนําไปทดสอบจริงหรืออาจนํามาทดลองมาปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้น

ผูวิจัยไดดําเนนิการศึกษาและพัฒนาสื่อบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนใหเปนไปตาม คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งยังเปนแนวทางในการสรางสื่อการเรียนรูในรูปแบบอื่นๆ

2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีประสิทธิภาพเทากับ 80.22/80.78 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ พิชาน ศาสตรวาทิต (2541 : บทคัดยอ) ศิวิกา อมรรัตนานุเคราะห (2543: บทคัดยอ) สุพัตรา ธิชัย (2544 : บทคัดยอ)ธิติพันธ จินตเกิดแชม (2544 : บทคัดยอ)โบรฟร (Brophy 1999: abstract) เอสกานาช ิ(Eskenazi 2001: abstract) ที่ไดดําเนินการศึกษาวิจัยประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 ทั้งนี้เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ ไดดําเนินการศึกษาวิจัยตามหลักการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซ่ึงเปนการพัฒนาอยางเปนระบบ มีการวางแผนดําเนินการสราง แกไข ปรับปรุง โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีการนําไปทดลอง (try out) หาประสิทธิภาพของส่ือโดยการเก็บคะแนน ในขั้นทดลองเดี่ยว (One – to – one Try out) 3 คน (61.33/63.33) โดยผลจากการทดลอง คือนักเรียนมักเลือกทําแบบฝกหัดกอนไมอานเนื้อหาทําใหไดคะแนนนอย ในการเรียนนักเรียนชอบคลิกเพื่อกดโดยไมอานคําส่ังใหชัดเจนกอน และไมศึกษาตามลําดับเนื้อหาและขั้นตอนนักเรียนขามบางเรื่องไป การแกปญหาในการทดลอง ไดนําผลจากการสังเกตและบันทึกขอมูลจากการทดลอง เพื่อนํามาปรับแกไขคือ ปรับปรุงคําส่ังของเมนูหลักใหมีความชัดเจน เพิ่มคําแนะนําและเนนย้ําคําส่ังทุกเมนู วาใหเรียนใหจบแตละตอนกอนแลวคอยทําแบบฝกหัดระหวางเรียน แบบทดสอบใชแบบทดสอบที่เขาใจงาย ใชตัวช้ีนําเพื่อเนนสวนสําคัญ ดึงดูดความสนใจ และปรบัปรงุกราฟก ภาพเคลื่อนไหวใหเหมาะสม ขั้นการทดลองกลุม (Small Group Try out) 9 คน (72.22/69.25 )จากผลการศึกษาและสังเกตจากขั้นทดลองกลุม 9 คน ปญหาที่พบคือ ปฏิสัมพันธในแบบทดสอบ รูปภาพในเนื้อหาบางตอนไมตรงกับคําบรรยาย จากขอบกพรองที่มีการสอบถามความคิดเห็นจากกลุมตวัอยาง รวมไปถึงการสังเกตของผูวิจัย ไดปรับปรุงแกไขดังนี้ แกปญหาดานปฏิสัมพันธ เพิม่รูปภาพกราฟกใหสอดคลองกับเนื้อหาและใหมีการแสดงผลที่เร็วข้ึน เพิ่มการตูนและเสียงพูดเสียงบรรยาย ที่เราความ สนใจ ผ ูวิจัยไดปรับปรุงแลวนําไปใชในการทดลองจริง30คน(80.22 /80.78) ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวา

Page 107: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

95

เกณฑที่กําหนดไว เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนส่ือการเรียนที่ผูเรียนสามารถเรียนไดตามความสามารถของแตละคน มีการจัดลําดับเนื้อหาเปนลําดับขั้นตอนยอยๆ ในรูปแบบของกรอบ ผูเรียนมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง(ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2541ข : 9)จึงทําใหผูเรียนมีความสนใจและเกิดความอยากรูอยากเห็น ตัวบทเรียนมีทั้งขอความ รูปภาพ เสียง แบบฝกหัด ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ พรเทพ เมืองแมน (2544 : 16) ที่กลาววาการใชคอมพิวเตอรเปนส่ือเพื่อชวยในการนําเสนอเนื้อหานาสนใจและใหผลการเรียนรูที่ดียิ่งขึ้น เพราะคอมพิวเตอรสามารถ นําเสนอในลักษณะของสื่อประสม(Multimedia) โดยสามารถนําเสนอไดทั้งขอความ กราฟก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง นอกจากนี้ในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ยังไดนําภาพการตูน หรือภาพเคลื่อนไหวมาใชคอนขางมาก สืบเนื่องจากกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ดวยวัยเด็กจะชอบภาพการตูน ภาพเคลื่อนไหวมากกวาวัยผูใหญ ซึ่งภาพการตูนสามารถนํามาใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ใชกระตุนความสนใจของผูเรียน (Wittich and Schuller 1950 : 340) ซ่ึงโซนส(Sones 1944 : 268) ไดกลาววาภาพการตูนเปนสิ่งเราความสนใจที่สําคัญในการเรียนการสอน เนื่องจากการตูนมีลักษณะที่เราใจ และดึงดูดความสนใจ ความสวยงามและความนารักของการตูนทําใหเด็กเกิดความประทับใจสนใจที่จะติดตาม

เนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ประกอบดวยเนื้อหา และคําอธิบายที่ดึงดูดความสนใจของผูเรียน มีกิจกรรมใหทํา เชน แบบทดสอบกอนเรียน แบบฝกหัดใหทําในแตละตอน เมื่อทําแบบฝกหัดแลวมีเฉลยคะแนน แบบทดสอบหลังเรียน ในขณะที่ทําแบบทดสอบหลังเรียนแตละขอนักเรียนจะทราบวาตนเองตอบถูกหรือตอบผิด นักเรียนก็จะเกิดแรงเสริม แรงจูงใจ ทาทายใหสนใจทํากิจกรรมตอไป การไดรับแรงเสรมิทําใหเกิดการเรียนรูไดดีที่สุด สอดคลองกับแนวคิดของ อรพันธุ ประสิทธิรัตน (2530 : 7 – 8) ที่กลาววา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) ทันทีและใหแรงเสริม (Reinforcement) แกผูเรียนไดรวดเร็ว เมื่อผูเรียนทําผิดก็สามารถแกไขขอผิดพลาดไดทันทวงที และในขณะที่กําลังศึกษาเนื้อหาหรือทําแบบทดสอบแลวตองการจะออกจากโปรแกรมหรือรายการหลัก เพื่อศึกษาตอนอื่นๆ ก็สามารถออกจากโปรแกรม หรือกลับสูรายการหลักไดตลอดเวลา สอดคลองกับแนวคิดของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2541ก : 12 ) ที่กลาววา รากลึกของคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นเกิดจากบทเรียนโปรแกรม จากบทเรียนโปแกรมที่มีเพียงตัวหนังสือหรือภาพประกอบ ไดพัฒนามาเปนคอมพิวเตอรชวยสอนในรูปของมัลติมีเดีย ที่มีสีสัน ชีวิตชีวา การตอบสนอง ความตื่นเตน เราใจ ดวยส่ือหลากหลายชนิดที่เปนทั้งภาพนิ่ง กราฟก ภาพเคลื่อนไหว รูปแบบตัวหนังสือ และเสียงประกอบ จึงทําใหคอมพิวเตอรชวยสอนมีความสมบูรณในตัวเอง ตอบสนองความสนใจ ความตองการของผูใชไดตลอดเวลาเปนการสงเสริมการใชศักยภาพในการเรียนของผูเรียนตามความ

Page 108: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

96

แตกตางระหวางบุคคลโดยแท ขอไดเปรียบที่สําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนก็คือ คอมพิวเตอรชวยสอนที่ไดรับการออกแบบมาอยางดี ถูกตองตามหลักการออกแบบนั้นสามารถที่จะจูงใจให ผูเรียนเกิดความกระตือรือรนที่จะเรียนและสนุกสนานไปกับการเรียนตามแนวคิดของการเรียนรูในปจจุบันที่วา “Learning is Fun” ซ่ึงหมายถึง การเรียนรูเปนเรื่องสนุก

ดวยเหตุผลดังกลาวทั้งหมดนี้ทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สามารถนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ไดอยางมีประสิทธิภาพ

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุม

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีคาเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน ( X = 24.17) สูงกวาคาเฉลี่ยคะแนนกอนเรียน( X = 14.83) คาความกาวหนาเทากับ 9.34 และคา t คํานวณ(12.352) มีคามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว(t ตาราง 2.462) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตามสมมติฐาน ขอที่ 2 เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้ไดผานกระบวนการหาประสิทธิภาพหลายขั้นตอนจนมีความเหมาะสม ทําใหหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแลวผูเรียนสามารถ เขาใจมากขึ้นและทางดานแบบทดสอบก็ไดผานการตรวจสอบคุณภาพโดยการหาคา IOC ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษา การหาคาความยากงาย (p) ระหวาง 0.30 – 0.80 และคาอํานาจจําแนก(r) ระหวาง 0.20 – 0.90 รวมทั้งหาคาความเชื่อมั่น 0.70 ของแบบทดสอบที่ เหมาะสมกอนนําไปใช ทําใหผลงานวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงใหเห็นวาการถายทอดความรูดวยส่ือที่เหมาะสมชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู สนใจ ยอมรับและสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง จากการทดลองผูวิจัยสังเกตพบวา นักเรียนใหความสนใจ ตื่นเตนและตองการที่จะเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมาก ทั้งนี้เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ มทีัง้ภาพนิง่ ภาพเคลือ่นไหว เสียงประกอบ และการมีผลยอนกลับทันทีทั้งในรูปเสียงและภาพ นักเรียนทราบผลการเรียนทันที จึงเปนจุดเราความสนใจแกผูเรียนเปนอยางดี เกิดการเรียนรูไดสูงขึ้น นักเรียนสนใจและตั้งใจเรียน เรียนอยางมีความสุข สนุกสนาน จึงทําใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ ขนิษฐา ชานนท (2532 : 9) ที่กลาววาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถกระตุนและสรางแรงจูงใจในการเรียนไดเปนอยางดี ที่จากความแปลกใหมและจาก

Page 109: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

97

ความสามารถในการแสดงภาพ สีและเสียง ตลอดจนเกมคอมพิวเตอร ซ่ึงสามารถเราความสนใจของผูเรียนไดเปนอยางดี และสอดคลองกับแนวคิดของ นิพนธ ศุขปรีดี (2531 : 27 – 28 ) ที่กลาววา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถตอบสนองตอการเรียนรูรายบุคคลไดดี เพราะเปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถของตนเองโดยไมตองเรงหรือรอเพื่อน ผูเรียนแตละคนสามารถโตตอบกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหไมเบื่อหนายตอการเรียน นอกจากนี้ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ อํานาจ ดอกบัว (2543: บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนเรื่อง พืช ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจากผลการทดสอบสัมฤทธิ์หลังเรียนเพิ่มขึ้นรอยละ 20.75 สอดคลองกับงานวิจัยของ ธิติพันธ จินตเกิดแชม(2544 : บทคัดยอ) ไดวิจัยและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง สสารและความรอน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ผลการทดลองพบวา ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล อ งกับงานวิจัยของเบญญานิจ กิจเตง(2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดดิสหงสาราม เขตราชเทวี กรุงเทพ ฯ ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องยาเสพติด สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคลองกับงานวิจัยของ สมิทธ(Smith 1999 : บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัย เร่ือง การเรียนรูการอาน ออกเสียงคําศัพทภาษาสเปน โดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับนักเรียนในสเปน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบวา ไดผลการศึกษาเปนที่นาพอใจ คะแนนของผูเรียนดีขึ้นหลังจากใชคอมพิวเตอรชวยสอน

ดังนั้นบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จึงเปนสื่อการเรียนที่มีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพที่จะทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น สามารถใชเปนส่ือถายทอดความรูแกผูเรียนไดเปนอยางดี จึงทําใหนักเรียนที่เรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน

4. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ จํานวน 30 คน ปรากฏวาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยภาพรวมพบวา ความคิดเห็นอยูในระดับดีที่สุด( X =4.59) ตามสมมติฐานขอที่3 คือผลการประมวลและวิเคราะห ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอที่ไดคาเฉลี่ยมีความ

Page 110: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

98

คิดเห็นดีที่สุดคือ นักเรียนอยากใหเพื่อนนักเรียนอ่ืนมีโอกาสเรียนดวยคอมพิวเตอรบาง ( X = 4.80) เนื่องจากบทเรียนมีความสนุกสนาน เขาใจงาย เรียนรูไดอยางอิสระ รองลงมาคือ นักเรียนรูสึกพอใจเมื่อไดตอบ คําถามดวยวิธีเลือกคําตอบ( X =4.77) และคอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ ( X = 4.73 ) สําหรับความคิดเห็นที่ทีคาเฉลี่ยนอยที่สุด 3 ขอ คือ นักเรียนสามารถเรียนไดนาน ๆ โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือปวดตา( X = 4.30 ) นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน( X = 4.40 ) และไมรูสึกเสียหนาเมื่อนักเรียนตอบคําถามผิด ( X = 4.50 ) และจากแบบสอบถามความคิดเห็นปลายเปด ซ่ึงเปนการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สรุปไดวา นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีและเห็นประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เพราะขณะเรียนมีความรูสึกชอบ สนุก และอยากเรียนทบทวนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอีก ดวยทําใหเขาใจเนื้อหาไดดี และมีความมั่นใจในการเรียนดวย สอดคลองกับแนวคิดของกฤษมันต วัฒนาณรงค(2536 : 86) ไดกลาววาคอมพิวเตอรเปนเทคโนโลยีที่ทันสมัยเปนที่สนใจของผูเรียน การนําเสนอความรูแบบใหมที่มีคอมพิวเตอรชวยสอนชวยสอนเปนสื่อ ทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรนที่จะไดประสบการณที่แปลกใหมเปนการกระตุนและเพิ่มแรงจูงใจใหผูเรียนไดอยางดี สอดคลองกับงานวิจัยของศิวิกา อมรรัตนานุเคราะห (2544 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมัลติมีเดีย กลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต ชุดสัตว สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 ปรากฏวา นักเรียนมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก (4.11) และสอดคลองกับงานวิจัยของ สุพัตรา ธิชัย (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับเสริมการเรียนวิชา กายวิภาคศาสตร และสรีระวิทยา 1 เร่ือง Anatomy and physiology of skeletal Muscular System ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1 ผลการวิจัยพบวานักเรียนมีเจตคติที่ดีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และสอดคลองกับงานวิจัยของธนา เทศทอง (2544 :100) ไดแสดงความคิดเห็นวา เมื่อผูเรียน เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พบวาผูเรียนมีการตื่นตัวใหความสนใจ และมีความมุงมั่นที่จะทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางตั้งใจ และผลการทดสอบ นักเรียนสามารถทําคะแนนไดในเกณฑดี

กลาวโดยสรุป จากการทําวิจัยคร้ังนี้ นักเรียนชอบที่จะเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนเนื่องจากในบทเรียนมีความสนุกสนานไมเครียด และมีภาพประกอบการตูน เสียง ภาพเคลื่อนไหว จึงทําใหเขาใจเนื้อหางายขึ้นสามารถเรียนไดหลายครั้งจนกวาจะพอใจ ทําใหจําเนื้อหาไดดีขึ้นรวมทั้งการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปลี่ยนบรรยากาศในการเรียน สงผลให นักเรียนมีความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยูในระดับดีที่สุด ( X = 4.59 )

Page 111: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

99

ขอเสนอแนะ จากผลการวิจัย ที่ไดเสนอไปแลวนั้น ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้ ขอเสนอแนะทั่วไป 1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูสรางควรมีความรูในการสรางกราฟก

ภาพเคลื่อนไหว การตกแตงภาพเปนอยางดี เพราะจะทําใหการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีความนาสนใจ และดึงดูดผูเรียนไดมากขึ้น รวมทั้งคํานึงถึงการใชสีตัวอักษร และสีพื้น เพราะมีความสัมพันธกับความยากงายในการอาน และการรับรูของผูเรียน ควรคํานึงถึงความชอบและความสนใจของเด็กเปนสําคัญ เชนนําภาพการตูนหรือภาพเคลื่อนไหวมาใช เพราะวัยเด็กมักชอบ ภาพการตูนและภาพเคลื่อนไหว

2. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ควรมีการวางแผนในการผลิต การกําหนดขนาดไฟลภาพและเสียงที่มีขนาดเล็ก เพื่อความรวดเร็วในการโตตอบของโปรแกรม และควรใหความสําคัญถึงการวิเคราะหจุดประสงคและลักษณะของผูเรียน พรอมทั้งออกแบบเนื้อหาเพื่อใหไดบทเรียนที่มีเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงคของรายวิชา/สาระการเรียนรูที่ตองการ

3. เพื่อใหไดนักเรียนที่มีทักษะที่ดีในการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ควรให คําแนะนํานักเรียนกอนทุกครั้ง เพื่อจะไดทราบถึงขั้นตอนและวิธีการที่ถูกตอง ซ่ึงจะชวยลดและปองกันการเกิดปญหาและความยุงยากตอการใชคอมพิวเตอรในภายหลังและ ครูควรอยูดูแลคอยใหคําแนะนําชวยเหลือและแกปญหาที่เกิดขึ้นระหวางเรียน คอยเนนสวนสําคัญที่นักเรียนอาจไมเขาใจ สังเกตพฤติกรรมหนีการเรียนของนักเรียนซ่ึงเปนการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนดวย

4. การนําไปใช ผูสอนควรศึกษาคูมือครูลวงหนา เพื่อเปนการเตรียมความพรอมการซักซอมความเขาใจสื่อและการศึกษาระบบคอมพิวเตอรที่นําไปใชเรียนใหมีระบบมัลติมิเดียครบถวนทั้งภาพและเสียงเพื่อปองกันความผิดพลาดได

5. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สามารถนําผลการเรียนในแตละครั้ง มาทําการวิเคราะหเปรียบเทียบความกาวหนาของผูเรียน

6. การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ควรมีการวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่องในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ในเนื้อหาหนวยอ่ืนๆ เพื่อใหมีความสมบูรณครบทุกหนวยการเรียนรู ซ่ึงจะเปนประโยชนตอผูที่นํามาใชมากขึ้น

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยดานพฤติกรรมการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระ

การเรียนรูวิทยาศาสตร ในสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

Page 112: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

100

2. ควรมีการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ในรูปแบบอื่น เชน แบบทดสอบ จําลองสถานการณ แบบทบทวน แบบเกมการเรียนการสอน เพื่อใหมีความหลากหลายตอ การเรียนการสอน

3. ควรมีการศึกษาวิจัยดานรูปแบบการสอนวิธีการสอนแบบตางๆ รวมกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เพื่อประโยชนในการนําไปประยุกตใชในการพัฒนากระบวนการจัดการเรยีนการสอนที่เหมาะสมตอไป

Page 113: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

101

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมวิชาการ. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.พิมพคร้ังที่2.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ(ร.ส.พ.), 2545. . การจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546. กรมวิชาการ. ศูนยพัฒนาหนังสือ. ความรูเก่ียวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2544. กรมวิชาการ. สํานักงานทดสอบทางการศึกษา.แนวทางการประเมินผลดวยทางเลือกใหม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546. กฤษมันต วัฒนาณรงค. “การหาประสิทธิภาพบทเรียน CAI.” เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 6,1 (มกราคม 2542): 61 – 65. กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัด โรงพิมพชวนพิมพ, 2540. . เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.พมิพคร้ังที่2. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ, 2543. โกวิทย ประวาลพฤกษ. “รูปแบบการนิเทศการศึกษา.” เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ เร่ือง แนวดําเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงเรยีน .กองวิจยัทางการศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, 2-6 มีนาคม 2535. ขนิษฐา ชานนท. “เทคโนโลยีคอมพิวเตอรกับการเรียนการสอน.” วารสารเทคโนโลยีการศึกษา 3, 1 (มกราคม 2532): 7 – 13. จริยา เหนียนเฉลย. เทคโนโลยีการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: ศูนยส่ือเสริมกรุงเทพมหานคร, 2535. ฉลอง ทับศรี. “ซี เอ ไอ เปนไปไดไหมกับเมืองไทย.” วารสารรามคําแหง 15, 3(สิงหาคม 2535): 1 – 2. ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ. การออกแบบ/พัฒนาระบบการเรียนการสอนกับการเลือกใชสื่อ. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

Page 114: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

102

เชษฐพงศ คลองโปรง.“การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย เร่ือง ส่ือประเภท เครื่องฉาย สําหรับนักเรยีนระดับปริญญาตรี.” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ, 2544. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีการศึกษา: หลักการและแนวปฏิบตั.ิ กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวัฒนาพานิช, 2526. . เทคโนโลยีทางการศึกษา: ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2533. ฐาปนีย ธรรมเมธา. สื่อการศึกษาเบื้องตน. พิมพคร้ังที่2.นครปฐม:โครงการตําราและเอกสาร ประกอบการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541. เดชา ทะมานันท.“การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองไฟฟา กลุมสรางเสริมประสบการณ- ชีวิต สําหรับชัน้ประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิยาลัยขอนแกน, 2543. เตรียมพล ขอดคํา.“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความรูเบื้องตนเกีย่วกับไฟฟา โดยใชคอมพิวเตอร ชวยสอน ระหวางการเรียนแบบกลุมกับการเรียนแบบรายบุคคล ของนักเรียนชัน้มัธยม ศึกษาปที2่ โรงเรียนศรีพฤฒา กรุงเทพมหานคร.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2536. ถนอมพร เลาหจรัสแสง.ก คอมพิวเตอรชวยสอน: หลักการออกแบบและสรางคอมพวิเตอร ชวยสอนดวยโปรแกรม Multimedia Tool book.พิมพคร้ังที่2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทดวงกมลโปรดักชั่นจํากัด, 2541. .ข คอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541. ทักษิณา สวนานนท. คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2530. ธนา เทศทอง. “การพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน วิชาเลือกเสรี ศ016 จิตรกรรม2 เร่ือง การจัดองคประกอบศลิปกับงานจิตรกรรม ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนราชินบีูรณะ จังหวดันครปฐม.” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2545. ธิติพันธ จินตเกิดแชม. “บทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ือง สสารและความรอน สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนบุาลปทุมธานี.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. นิพนธ ศุขปรีดี. “คอมพิวเตอรและพฤตกิรรมการเรียนการสอน.” วารสารคอมพิวเตอร 15, 78 (มกราคม 2531) : 24 – 28.

Page 115: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

103

บุญชม ศรีสะอาด. “การประเมินผลสื่อการสอน.” จุลสาร คพศ.สปช.4(สิงหาคม 2533): 23-29. . การวิจัยเบื้องตน. พิมพคร้ังที่3.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพสุวิริยาสาสน, 2535. บุญเรียง ขจรศิลป. วิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: หจก.พี เอ็น การพิมพ, 2533. บุญสืบ พันธุดี. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาชวีวิทยา ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย.” วทิยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2537. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ . “รูปแบบการสอนที่ใชคอมพิวเตอรเปนสื่อการสอนและเทคโนโลยีใหม ๆ.” เอกสารประกอบการฝกอบรมมัลติมีเดียคอมพิวเตอรชวยสอน ภาควิชาการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2539. (อัดสําเนา) เบญญาณิช กจิเตง .“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 6 ที่เรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง ยาเสพติด.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2546. ประกายวรรณ มณแีจม. “การเปรยีบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกสและทกัษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ระหวางนกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยใชคอมพิวเตอร ชวยสอนเปนรายบุคคล กลุมยอยและตามคูมือของ สสวท.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตูรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ , 2536. พรเทพ เมืองแมน. การออกแบบและพัฒนา CAI MULTIMEDIA ดวย Authorware. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544. พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทตนออ แกรมมี ่จํากัด, 2538. “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542.” ราชกิจจานุเบกษา. เลม 116 ตอนที่ 74 ก (19 สิงหาคม 2542): 62 “พระราชปณธิานดานการศกึษา.” การศึกษาแหงชาติ 21,6(สิงหาคม – กันยายน 2530):27 – 30. พฤทธ์ิ ศิริบูรณพิทักษ. “การวิจัยและการพัฒนาทางการศึกษา.” รวมบทความที่เก่ียวกับงานวิจัย ทางการศึกษา เลม2 11,4(เมษายน – พฤษภาคม 2531): 21 – 25. พวงรัตน ทวีรัตน. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่7. กรุงเทพมหานคร: สํานักทดสอบทางการศกึษาและจิตวิทยา มหาวทิยาลยัศรีนครินทรวโิรฒ, 2540. พิชาน ศาสตรวาทิต. “การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาวทิยาศาสตรกายภาพชวีภาพ เร่ือง โลกและดวงดาว ตอน ดาวเคราะห : เพื่อนบานของเรา.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2541.

Page 116: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

104

พิสนธิ์ จงตระกูล. “บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (ซี เอ ไอ) ที่เหมาะสมกับการศึกษาแพทยศาสตร เปนอยางไร.” จุฬาลงกรณเวชสาร 13,2 (กมุภาพันธ 2530):701 –704 . ภพ เลาหไพบูลย. แนวการสอนวิทยาศาสตร. กรุงเทพมหานคร:ไทยวัฒนาพานิช , 2537. ภาณี สัจจาพนัธ. “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการเรียนแบบรายบุคคลและการเรียนแบบกลุม รวมมือโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองทรัพยากรธรรมชาติปาไม สําหรับ นักเรยีนชั้น มัธยมศึกษาปที่3.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2545. มาโนชย ไชยสวัสดิ์. “แนวทางในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพือ่ชวยในการสอน.” วารสาร มฉก. วิชาการ 1,1(กรกฎาคม – ธันวาคม 2540): 25 – 28. ยืน ภูวรวรรณ. “การใชไมโครคอมพิวเตอรชวยในการเรยีนการสอน.” ไมโครคอมพิวเตอร 3,7 (กุมภาพันธ 2534) : 116 – 121. ลดามาศ หัมพานนท. “การพัฒนาบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองการแกโจทยปญหา คณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยการเรียนแบบรวมมือ.” วิทยานพินธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2546. ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 4 กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน, 2538. วีรพนธ คําด.ี สรางงานมัลตมีิเดียสมบูรณแบบโดยใช Macromedia Authorware 5. กรุงเทพมหานคร: บริษัทซักเซสมีเดียจํากดั , 2543. วีระ ไทยพานิช. “บทบาทและปญหาของการใชคอมพวิเตอรชวยสอน.” ใน รวบรวมบทความทาง เทคโนโลยีทางการศึกษา,17 –21.กรุงเทพมหานคร: ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศกึษาธิการ, 2525. ศรีศักดิ์ จามรมาน. “การพัฒนาและการใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน.” วารสารรามคําแหง 15,3(สิงหาคม 2535): 9 – 10. ศิริชัย สงวนแกว. “แนวทางการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน.” คอมพิวเตอรรีวิว 8,78 (กุมภาพันธ 2534): 173 – 179. ศิวิกา อมรรัตนานุเคราะห. “การพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรมัลติมีเดียกลุมวิชาสรางเสริม- ประสบการณชีวิต ชุดสัตว สําหรับนักเรียนขั้นประถมศกึษาปที่ 4.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543. สถาบันสงเสริมการสอนวทิยาศาสตรและเทคโนโลย.ี การจัดสาระการเรียนรู กลุมวิทยาศาสตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546.

Page 117: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

105

สมรักษ ปริยะวาท.ี Authorware 6.0 โปรแกรมสรางCAI Multimedia. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545. สรินทร ศรีสมพันธ. “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่1 ที่เรียนจากบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนแบบสาขา 2 แบบ.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต2. กลุมนโยบายและแผน. “แผนปฏิบัติการ ประจําป งบประมาณ 2548.” เอกสารหมายเลข 37/2547, 2547. (อัดสําเนา) สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต.ิ หนวยศกึษานเิทศก . คูมือดําเนนิการ อบรมครูผูสอนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6. โครงการอบรม ครูผูสอนคณิตศาสตรป2539. เอกสาร ศน.ที่ 44/2539.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2539. สุกรี รอดโพธ์ิทอง. “การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน.” วารสารรามคําแหง 15,3 (สิงหาคม 2535): 40. สุพัตรา ธิชัย.“การพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนสําหรับเสริมการเรียนวิชา กายวภิาค-

ศาสตรและสรีรวิทยา1 เรื่อง Anatomy and Physiology of Skeletal Muscular System ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี- การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

สุรางค โควตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533. เสาวณยี สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยี- พระจอมเกลาพระนครเหนอื, 2528. เสาวณยี สิกขาบัณฑิต. “การเรียนการสอนรายบุคคลแกปญหาการศกึษาอยางไร.” ใน รวมบทความ เทคโนโลยีทางการศึกษา.23 –25.กรุงเทพมหานคร: ศูนยเทคโนโลยีการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศกึษาธิการ, 2536. อนันตเดช ประพันธพจน. “การพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนชางพื้นฐาน เร่ืองงาน ไฟฟาเบื้องตน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. อรพันธ ประสิทธิ์รัตน. คอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน. พิมพคร้ังที่2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทคราฟแมนเพรสจํากัด, 2530.

Page 118: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

106

อํานาจ ชางเรยีน. “ไปศึกษาอบรมตางประเทศ เร่ืองการวจิัยและพัฒนาการศึกษา.” การศึกษา กรุงเทพมหานคร 2,5 (เมษายน 2538): 26 – 28. อํานาจ ดอกบัว. “การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองพืช กลุมสรางเสริมประสบการณ- ชีวิต ช้ันประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี- การศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2543. ภาษาตางประเทศ Alessi, Stephen M., and Stanley R. Trollip. Computer – Besed Instruction. New Jersey: Prentice – Hall Inc, 1985. Best, John W., and Kahn, James V. Research in Education. 5 th ed. New Jersey: Prentice Hall Inc., 1986. Borg, Walter R., and Meredith D. Gall. Educational Research. New York: Longman, 1979. Brophy, K.A. Is Computer-Assisted Instruction Effective in the Science Classroom?. Abstract from Master Abstracts International 35 [Online].2000. Accessed 11 March 2000. Available from http://www.lib.com/desertion/fullcit/ Eskenazi. Maxine. Using Automatic speech processing foreign Language Pronunciation Tutoring some Issue and A prototype. Abstract from Language Learning&technology 15 [Online]. 2001. Accessed 15 May 2001. Available from http://polyglot“cal” msu.edu/llt/vollnum/chun-plass/default.html Hannafin, M.J., and K.L. Peck. “The Design, development, and evaluation Interactive Multimedia.” Education technology Research Development 41, 3(1988): 7 – 14. Jonassen, David H. and Wallace H. Hannum. “Research – Bese Principles For Designing Computer Software.”Educational Technology 27, 12(1987, December): 7 – 14. Kemp, Jerold E. Planning and producing Instructional Media. 5th ed. New York: Harper-Row Publisher Inc, 1985. Kim’ Mo-Ryong. Segmental and tonal interactions in English and Korean: A phonetic and phonological study [CD-ROM].2000. Abstracts from ProQuest File: Dissertation Abstracts Item: aaa19963824.

Page 119: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

107

Mayer, C.F. Contest Analysis of some Selected Computer-Assisted Language learning Courseware and Recommendation for ESL/FI Instruction [CD-ROM].2000. Abstracts from ProQuest File: Dissertation Abstracts Item: aaa19963824.

Pang, N. “Program Evaluation of Technology Training and Information Technology Effect on integration of Computer Based Instruction in Elementary Classroom.” Dissertation Abstracts International 4 (October 1997): 58-A. Smith, J.A. “Learning to Accent Spanish Words Using Computer-Assisted Instruction.” Dissertation Abstracts International 60(October 1999): 1301 – A. Sones, A.S. “The Commies and the Instretietionl Methocl of Educational sociology.” School and Society 4 (December 1994) : 268-270. Wittich B.T. and Schuller R.L. “Audio-Visual Materials New York.” American Book, no.30 (1950) : 130-140.

Page 120: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

108

ภาคผนวก

Page 121: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

109

ภาคผนวก ก

รายนามผูเชี่ยวชาญ

Page 122: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

110

รายนามผูเชี่ยวชาญในการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสดุ

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวิทยาศาสตร 1. นายหัสนยั ยามชวง (วท.ม.)

ตําแหนง ศกึษานิเทศก 9 สถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2

2. นายวเิชียร เทยีมเมือง (กศ.ม.) ตําแหนง ขาราชการบํานาญ (ศึกษานิเทศก 7)

สถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาราชบุรี เขต 2 3. นายอกนิษฐ ศรีภูธร (วท.ม.)

ตําแหนง ผูชวยคณบดีคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี สถานที่ทํางาน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม

ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรชวยสอน 1. นายอนิรุทธ สติมั่น

ตําแหนง อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา สถานที่ทํางาน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2. นายอํานาจ ศิลปชัย (กศ.บ.) ตําแหนง ศกึษานิเทศก 7 สถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2

3. นายวรวุฒิ มั่นสุขผล (ศษ.ม.) ตําแหนง หัวหนาฝายสารสนเทศศูนยคอมพิวเตอร สถานที่ทํางาน ศูนยคอมพวิเตอร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจนัทร

Page 123: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

111

รายนามผูเชี่ยวชาญในการหาคา IOC ของแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

1. รองศาสตราจารย ประทิน คลายนาค ตําแหนง รองศาสตราจารย สถานที่ทํางาน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นายบุญทว ี ศรีเล็ก ตําแหนง ครู (คศ.2) สถานที่ทํางาน โรงเรียนบานหนองไกขัน สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาราชบุรี เขต2

3. นายอลงกรณ ศุภเอม ตําแหนง อาจารยประจําภาควิชาศิลปกรรม สถานที่ทํางาน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวดันครปฐม

Page 124: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

112

ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

Page 125: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

113

แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง สวนที่ 1 หลักการเบื้องตน

หัวขอวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบตัิของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ความคิดรวบยอด

ในชีวิตประจําวันของเรา เราใชส่ิงของเครื่องใชมากมายหลายชนิด ซ่ึงแตละชนิดมีลักษณะที่แตกตางกัน บางชนิดแข็งและเปนมันวาว บางชนิดแข็งและผิวขรุขระ บางชนิดออนนิ่มและยดืหดได สาเหตุที่ส่ิงของมีลักษณะแตกตางกนัเพราะสิ่งของเหลานั้นทํามาจากวัสดุทีแ่ตกตางกัน และมีสมบัติที่แตกตางกัน สมมติฐานการวิจัย

เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดแุละสมบัติ ของวัสดุ

เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สําหรับ นักเรียน ชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาปที่ 5 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว

เพื่อเปรียบเทยีบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในชวงชั้นที่ 2 ระดบัประถม ศึกษาปที่ 5 กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสด ุ

เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ เนื้อหาท่ีใชในการทดลอง : เร่ือง วัสดุและสมบัติของวสัดุ จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกความสาํคัญของวัสดุและจําแนกวัสดุตางๆ ที่ใชในชีวิตประจําวนัได 2. บอกความหมายของความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนยีว การนําความรอน การนํา

ไฟฟา และความหนาแนนของวัสดุได 3. บอกหลักการทั่วไปในการใชวัสดุเครื่องใชใหปลอดภัย 4. อธิบายสมบัติทั่วไปของ ของแข็ง ของเหลว และแกสได 5. บอกความแตกตางของ ของแข็ง ของเหลว และแกสได

Page 126: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

114

สาระการเรียนรู ตอนที่ 1 วัสดใุนชีวิตประจําวัน ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ

ตอนที่ 1 วัสดุในชีวิตประจําวนั วัสดุที่เราใชทาํส่ิงของตางๆเหลานี้ เราไดมาจากธรรมชาติ บางชนิดไดมาจากพืช บาง

ชนิดไดมาจากสัตว และบางชนิดขุดมาจากพื้นโลก 1. วัสดุท่ีไดมาจากพืชและสตัว

ไม เปนวัสดุธรรมชาติที่ไดจากตนไม จะเปนตนไมจากปาตามธรรมชาติหรือจากปาที่เราปลูกขึ้น เชน ไมสัก ไมยาง ไมรัง ไมยางพารา ไมสน เปนตน เราใชไมในการสรางบานที่อยูอาศัย ทําเครื่องเรือน กลอง ร้ัว ของเลน ดนิสอ กระดาษ เปนตน ยาง เปนวัสดธุรรมชาติ คือยางดิบไดมาจากตนยางพารา น้ํายางสีขาวขน การทําใหน้ํายางแข็งตวัจะตองใสกรดลงไป แลวทําใหเปนแผน ตากใหแหง เราใชยางทําส่ิงตางๆ มากมาย เชน ถุงมือ รองเทา ยางรถยนต แตปจจุบนัยางธรรมชาติไมเพียงพอ จงึมีการทํายางสังเคราะหหรือยางเทียม ซ่ึงทาํมาจากสารเคมีที่ไดจากน้ํามนัขึ้นมาใชดวย เสนใยพืช ขนและหนังสัตว เสนใยบางชนดิเปนวัสดุธรรมชาติไดมาจากพืชและสัตว เสนใยที่ไดจากพืช เชน ใยฝาย ไดจากปุยของเมล็ดฝาย ลินินไดจากลําตนของแฟลกซ เสนใยที่ไดจากสัตว ไดแก ขนแกะ ไหมไดจากรังตวัไหม ส่ิงของเครื่องใชบางอยางทํามาจากหนังสัตว เชน กระเปา เข็มขัด เปนตน นอกจากนี้เรายังใชขนสตัว มาทําเสื้อขนสัตว และผาหมอีกดวย

2. วัสดุท่ีไดมาจากพื้นโลก หิน เปนวัสดุธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เกดิขึ้นได 3 ลักษณะคือจากหินเหนียวหนืดภายในโลก จากการทบัถม และจากการแปรของหนิชนิดอืน่ไดแก หนิแกรนิต หินปนู หินออน เราใชหนิมาสราง บานเรือน หลอเสา ทําร้ัว ทําถนน ปูนซีเมนต เปนตน ทราย กรวด ดนิ เปนวัสดุธรรมชาติที่เกิดจากการแตกสลายของหิน กรวด คือ เศษหนิขนาดใหญ ทราย คือ เศษหินขนาดเลก็ ดนิ คือ เศษผงของหิน เราใชกรวดและทรายในการทําคอนกรีต ทําแกว กระดาษทราย เราใชดินทําอิฐ กระเบื้อง เครื่องปนดนิเผา เซรามิก

Page 127: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

115

โลหะ เปนสินแรที่พบในหินเมื่อนํามาถลุง ลักษณะโดยทัว่ไปมีความมนัวาว แข็งแรง ทนทาน สามารถงอไดโดยไมหัก สามารถรีดใหเปนแผนแบนบางได เชน เหล็ก ทองแดง อลูมิเนยีม ทองคํา พลาสติก เปนวัสดุที่ทําขึ้นมาจากสารเคมีที่ไดจากการกลั่นน้ํามันดิบ เราใชพลาสติกทําเปนฉนวนกันความรอน เพราะความรอนไมสามารถผานไดหรือผานไดนอยมาก เชน ทําดามกระทะ หูหมอ หุมเสนลวด สวิตซและปลั๊กไฟฟา ถังน้ํา ถวยชาม ขวด ปากกา หวี เปนตน น้ํามัน เปนวสัดุธรรมชาติที่สําคัญมากที่เกิดจากน้ํามันหรือไขมันของสัตวและพืชที่ตายแลวทับถมกันเปนเวลาหลายป เราใชน้ํามนัสําหรับการทาํความรอนในบานเรือน โรงงาน ขับเคลื่อนเครื่องยนต พลาสติกบางชนิด ไนลอน ยางมะตอยและสารหลอล่ืน เปนตน ถานหิน เปนวสัดุธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งที่มปีระโยชนมาก เกิดจากการทบัถมของตนไม เราใชถานหินเปนเชื้อเพลิงและสามารถผลิตสารเคมีไดหลายชนิดอีกดวย เชน สียอมผา สีเขียนรูป ยาแอสไพริน พลาสติกบางชนิด น้ํายาฆาเชือ้โรค เปนตน

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุวัสดุหรือวตัถุตางๆ จะมีสมบัติที่เหมือนกนั คือ มีตัวตน มีน้ําหนกั ตองการที่อยู สัมผัส

ได วัสดหุรือวัตถุที่มีสมบัติทั้ง 4 ประการนี้ เราเรียกวา “สสาร” วัสดุหรือสสารนั้นมีลักษณะเฉพาะตวัหรือสมบัติ แบงเปน 2 ลักษณะ คอื

1) สมบัติทางกายภาพ เชน สี ความแข็ง เนื้อผิว สภาพยดืหยุน ความหนาแนน เปนตน 2) สมบัติทางเคมี คือลักษณะการทําปฏิกิริยากับวัสดุอ่ืน เชนน้ําตาลละลายไดในน้ํา

เปนตน สมบัติของวัสดุตางๆ มีดังนี้ 1. ความยดืหยุนของวัสด ุ เปนสมบัติที่วัตถุเมื่อไดรับแรงกระแทกจะยงัคงสภาพเดิมอยู

เชน สปริง เปนตน เมื่อมกีารยืดจะขยายตัวออกแตเมือ่ปลอยใหหดเขาจะยังมีลักษณะสภาพยังคง รูปเดิมอยู เปนตน

2. ความแขง็ของวัสด ุ เปนสมบัติที่วัตถุเมื่อไดรับแรงกระแทกจะไมแตกหรือหักไดงายและจะมีการเปลี่ยนแปลงรปูราง เชน เมื่อเราตีเหล็กจะทําใหเหล็กงอ ลักษณะเดียวกันเมื่อเราทุบไมอยางแรงกจ็ะทําใหไมแตกโดยไมคงสภาพหรือรูปเดิมไว เปนตน

3. ความเหนียวของวัสด ุเปนสมบัติของวตัถุซ่ึงความเหนียวจะมีลักษณะคลายกับความยืดหยุนวัสดุทีแ่สดงความเหนียว เชน ยาง พลาสติก เปนตน

Page 128: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

116

4. การนําความรอนของวัสดุ เปนการถายโอนความรอนที่เกิดขึน้ในชีวิตประจําวันของเราอยูเสมอๆ เพียงแตเราอาจจะไมทราบวานั่นคือ การนําความรอน เชน เมื่อตักแกงที่รอนๆ ดวยชอนโลหะเราจะรูสึกรอนมอื หรือขณะที่เราใชชอนโลหะตักไอศกรีม มือที่จับดามชอนโลหะจะรูสึกเย็น ทั้งสองเหตุการณนีม้ีการนําความรอนเกิดขึ้น

5. การนําไฟฟาของวัสด ุวัตถุที่ยอมใหไฟฟาไหลผานไปสูวัตถุอ่ืนได และสามารถแสดงอํานาจไฟฟาออกมา วัตถุนัน้จะมีสมบัติการนําไฟฟา เชนโลหะทุกชนดิ น้ํา รางกายของเรา พื้นดนิ สารละลายกรด ไสดินสอดํา

6. ความหนาแนนของวัสด ุ วัตถุที่มีความหนาแนนมากจะมนี้ําหนกัหรือมวลมาก เชน เหล็ก ไม โลหะตางๆ กอนหิน เปนตน วตัถุที่มีความหนาแนนนอยจะมีน้ําหนักหรือมวลนอย เชน สําลี ผา กระดาษ พลาสติก เปนตน

หลักท่ัวไปในการเลือกใชวัสดุอยางเหมาะสมและปลอดภัย วัสดุที่เราตองใชในชวีิตประจําวันแตละชนิดมีความแตกตางกัน ดงันั้นเราควรเลอืกใช

วัสดุใหเหมาะสมกับงานที่ทําหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติ ดังนี้ 1. เลือกใชภาชนะที่ทําจากวัสดุที่ทนความรอนไดสูงมาใสอาหารรอน เชน ใชจานหรือ

ชามที่เปนกระเบื้องในการใสอาหารรอน เปนตน 2. เลือกใชเครือ่งมือหรืออุปกรณที่แข็งแรง ไมเปราะหกังาย ในการทํางานหรือกิจกรรม

ที่ตองมีการกระทบกระแทก เชน ใชคอนเหล็กในการตอกตะปู แตใชคอนยางในการตอกสายไฟ เปนตน

3. เครื่องมือหรืออุปกรณที่ทําจากวัสดพุวกโลหะจะเกิดสนิมไดงาย จึงตองทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บรักษาไวในบริเวณที่แหง ไมช้ืน

4. ใชฉนวนความรอนหอหุมในตําแหนงที่จะตองจับกบัเครื่องมือเครื่องใชที่มีความรอนสูงเสมอ

5. โลหะสามารถนําความรอนและนําไฟฟาไดดี จึงควรใชโลหะมาทําอุปกรณที่ตองอาศัยความรอนหรือนํามาทาํเปนตัวนําไฟฟา

6. เลือกใชวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชไดใหมได กอนทีจ่ะเลือกใชวัสดุที่ทําจากวัสดทุี่ใชแลวหมดไป

7. ใชวัสดุอุปกรณทุกอยางใหเกดิประโยชนสูงสุด เพราะวัสดุบางอยางเมื่อใชแลวจะหมดไป ไมสามารถนํากลับมาใชใหมหรือประดิษฐใหมได เชน ไม แรธาตุบางชนิด เปนตน

Page 129: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

117

8. เลือกใชวสัดุที่มีความปลอดภัยตอชีวติและสิ่งแวดลอม เชน เลือกใชสีทาบานที่ไมผสมสารตะกั่ว เลือกใชเครื่องปรับอากาศที่มีสามารถทําความเยน็ที่ไมใชสารคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFC) ลดการใชโฟมและพลาสติก เปนตน

9. วัสดุบางอยางสามารถนํามาใชไดมากกวา 1 คร้ัง เชน ถุงพลาสติก เมื่อนํามาใสของแลวก็สามารถนําไปใสของอื่นๆ หรือขยะไดอีกดวย

ตอนท่ี 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ ความหมายของสสาร นักวิทยาศาสตรไดแบงส่ิงที่อยูรอบตัวเราออกเปน 2 ประเภท คือ ส่ิงมีชีวิตกับ

ส่ิงไมมีชีวิต และเราสามารถแยกสิ่งที่อยูรอบตัวเราออกตามการรับรูได คือ ส่ิงที่มองเห็น สัมผัสได ตองการที่อยูและมนี้ําหนกั เรียกวา วัสดุหรือสสาร ส่ิงที่มองไมเหน็ สัมผัสไมได ไมตองการทีอ่ยู ไมมีน้ําหนกั เรียกวา พลังงาน ของแขง็ ของเหลว และแกส สารตางๆ รอบตัวเรามีอยูหลายรูปแบบ และมีสถานะที่แตกตางกันไป สารตางๆ

เหลานั้นไมวาจะมีสถานะใด หากเปนสารชนิดเดยีวกันกจ็ะมีสวนประกอบที่เหมือนกัน เชน น้ําแขง็ น้ํา ไอน้ํา ลวนแตประกอบไปดวยสวนเล็กๆที่เหมือนกัน เราเรียกสวนประกอบเลก็ๆนี้วา โมเลกลุ สารอื่นๆ ก็มีสวนประกอบเล็กๆ ที่เรียกวาโมเลกุลเชนเดียวกับน้ํา แตโมเลกุลของสารตางชนิดกัน จะมีสมบัติที่ตางกัน

โมเลกุลของสารใดที่อยูใกลชิดกันมาก โมเลกุลแตละโมเลกุลเคลื่อนที่ไดยาก สารที่มีลักษณะเชนนี้ เรียกวา ของแข็ง

โมเลกุลของสารใดที่อยูหางกันพอสมควร แตละโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่ไดบาง สารที่มีลักษณะเชนนี้เรียกวา ของเหลว

โมเลกุลของสารใดที่อยูหางกันมากแตละโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่ไดอยางอิสระ โมเลกุลของสารที่มีลักษณะเชนนี้เรียกวา แกส

สมบัติของสารแตละสถานะ ลักษณะการจดัเรียงตวัของโมเลกุลที่แตกตางกัน สามารถแบงสารออกเปน 3 สถานะคือ 1. สมบัติของสารที่อยูในสถานะของแข็ง มีสมบัติที่สําคัญดังนี้ 1. มีลักษณะแข็งเปนกอน มีรูปรางแนนอน 2. มีปริมาตรคงที่

Page 130: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

118

3. เนื่องจากของแข็งมีโมเลกุลที่เรียงชิดติดกันดงันั้นสารชนิดเดยีวกนัเมื่ออยูในสถานะของแข็งจึงมีความหนาแนนมากที่สุด

4. ของแข็งบางชนิดที่ละลายน้ําได เมื่อทําใหน้ําระเหยหมดไป จะพบของแข็งนัน้ๆ ที่กนภาชนะ เรียกของแข็งที่เกดิขึ้นนี้วา “ผลึก”

5. ของแข็งที่นําไฟฟาและนําความรอนไดดี คือโลหะ สวนของแข็งที่ไมสามารถนํา ไฟฟาและความรอนไดดี คือ อโลหะ

2. สมบัติของสารที่อยูในสถานะของเหลว มีสมบัติที่สําคัญดังนี้ 1.มีรูปรางไมแนนอน เปลี่ยนแปลงไปตามรูปรางของภาชนะที่บรรจ ุ 2. ปริมาตรเปลี่ยนแปลงเลก็นอย เมื่อมกีารเปลี่ยนแปลงของแรงดันมากๆ 3. สามารถไหลได และไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ําเสมอ เนื่องจากถูกแรงดงึดูดของโลก

กระทํา 4. ของเหลวตางชนิดกัน มีความหนาแนนตางกัน เมื่อนํามารวมกันของเหลวแตละ

ชนิดจะแยกชัน้กันอยูตามความหนาแนนของของเหลวนั้นๆ 3. สมบัติของสารที่อยูในสถานะแกส มีสมบัติที่สําคัญดังนี้ 1. รูปรางไมแนนอน โมเลกุลของสารที่อยูในสถานะนีจ้ะกระจายกันอยูทั่วไปใน

ภาชนะ 2. สามารถไหลไดเหมือนของเหลว และจะไหลจากบรเิวณที่มีความหนาแนนมากไปสู

บริเวณที่มีความหนาแนนนอย 3. สามารถอัดใหมีปริมาตรลดลงไดงาย 4. หากสารชนิดเดยีวกัน เมื่ออยูในบริเวณที่มีอุณหภูมิเทากัน วัสดุทีอ่ยูในสถานะแกส

จะมีความหนาแนนนอยที่สุด 5. ความหนาแนนของแกสขึ้นอยูกับอุณหภูมิ โดยแกสที่มีอุณหภูมิสูงจะมีความ

หนาแนนนอย สวนแกสที่มีอุณหภูมิต่ําจะมีความหนาแนนมาก การเปล่ียนสถานะของสาร สสารแตละชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจากสถานะหนึ่งไปเปนอีกสถานะหนึ่งได และยัง

สามารถเปลี่ยนกลับมาอยูในสถานะเดิมไดอีกโดยมีตวัการสําคัญที่ทําใหสสารเปลี่ยนสถานะคือ พลังงานความรอน

Page 131: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

119

เราเรียกการเปลี่ยนสถานะของสสารจากของแข็งกลายเปนของเหลววา การหลอมเหลว โดยสสารแตละชนิดจะหลอมเหลวที่อุณหภูมิแตกตางกนั ซ่ึงเปนสมบัติเฉพาะของสสารชนิดนั้นและเรียกอุณหภูมิที่สสารเกิดการหลอมเหลววา จุดหลอมเหลว

การเปลี่ยนสถานะของสสารจากไอหรือแกสกลายมาเปนของเหลว เรียกวา การควบแนน ซ่ึงจะเกดิ ณ อุณหภูมิเดียวกันกับจุดเดือด เชน จุดเดอืดของน้ําคือ 100 องศาเซลเซียส ดังนั้น จุดควบแนนของน้ําคือ 100 องศาเซลเซียส เพียงแตการเปลี่ยนสถานะแตกตางกนัจึงเรียกอุณหภูมนิี้วา จุดควบแนน

การกลายเปนไอ ของเหลว ไอหรือแกส

การควบแนน ไอหรือแกส ของเหลว

การเปลี่ยนสถานะของสสารจากของเหลวกลายเปนของแข็ง เรียกวา การเยือกแข็ง ซ่ึงจะเกิดขึ้น ณ อุณหภูมิเดียวกับจดุหลอมเหลว เชน จดุหลอมเหลวของน้ํา คือ 0 องศาเซลเซียส ดังนั้น จุดเยือกแข็งของน้ําคือ 0 องศาเซลเซียส เพียงแตมกีารเปลี่ยนสถานะแตกตางกนัจึงเรียกอุณหภูมนิี้วา จุดเยือกแข็ง

การหลอมเหลว ของแข็ง ของเหลว

การควบแนน ของเหลว ของแข็ง

สวนสาเหตุทีท่ําใหสสารแตละสสารมีสมบัติตางกันไปนั้น มีสาเหตุจากการจดัเรยีงตัวของโมเลกุลของสสารแตละสถานะมีความแตกตางกนัไป และสสารแตละสถานะจะมีลักษณะเฉพาะตวั ซ่ึงอาจแตกตางกันไปในเรื่องของปริมาตรและรูปราง โดยสามารถสรุปไดดังนี้

สถานะ รูปราง ปริมาตร ของแข็ง ของเหลว แกส

คงที่ ไมคงที่ ไมคงที่

คงที่ คงที่

ไมคงที่

จุดเดือด

จุดควบแนน

จุดหลอมเหลว

จุดเยือกแข็ง

Page 132: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

120

สวนที่ 2 แบบสัมภาษณมีโครงสราง สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวิทยาศาสตร 1. ทานคิดวาการที่จะสอนสาระการเรียนรูวทิยาศาสตรเพือ่ใหสามารถโยงไปสูเนื้อหาเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรมีการนาํเสนอเขาสูบทเรียนรูปแบบใด ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................….. ............................................................................................................................................................. 2. ทานคิดวาเนื้อหาของเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุทีก่ําหนดขึ้นมานั้นมีความเหมาะสมกับผูเรียนมากนอยเพียงใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ทานคิดวาการสอนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ในเรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรใชกจิกรรมการสอนอยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4.ควรมีแบบฝกหัด เพื่อฝกใหผูเรียนสามารถเขาใจในเรือ่งวัสดุและสมบัติของวัสดุ ในรูปแบบใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5.เกณฑการตัดสินวานักเรียนสามารถเขาใจในเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุควรตรวจสอบจากสิ่งใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 133: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

121

6.ทานมีความตองการใชส่ือการเรียนการสอนที่เปนคอมพิวเตอรชวยสอน มารองรับและเสริมการเรียนเนื้อหาวสัดุและสมบัติของวัสดุ ในดานใดบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. ทานคิดวาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) จะมีขอดแีละขอจํากัดสําหรบัผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. ขอเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................ผูใหสัมภาษณ (.......................................................................)

ตําแหนง................................................................................... ................./.................................../................

Page 134: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

122

สําหรับผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 1. ทานคิดวาการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ที่เกีย่วของกับสาระการเรียนรูวทิยาศาสตร เร่ืองวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรมีลักษณะใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. การนําMultimedia มาประกอบในงานCAI เพื่ออธิบายเนื้อหาเรื่อง วสัดุและสมบัติของวัสดุ มีความเหมาะสมเพียงใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แบบฝกหัดในCAI ที่เหมาะสมกับเรื่อง วัสดุและสมบตัขิองวัสดุ ตามศักยภาพของตัวส่ือ ควรเปนรูปแบบใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรูในสื่อ CAI ที่ควรนํามาใชในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ลักษณะใดนาจะเหมาะสมทีสุ่ด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. ทานตองการใหส่ือ CAI ที่เกี่ยวของกับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร พัฒนาไปในทศิทางใดและควรนําโปรแกรมใดที่จะเสริมการเรียนการสอนบทเรียนวัสดุและสมบตัิของวัสดุไดอีกบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 135: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

123

6. การใช CAI มีขอดีและขอจํากัดในการเรยีนสาระการเรยีนรูวิทยาศาสตรอยางไร .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. ขอเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................ผูใหสัมภาษณ (..............................................................)

ตําแหนง............................................................... ................./............................../..............

Page 136: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

124

ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 137: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

125

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเครือ่งหมาย × ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตอง 1. ขอเสียของวัสดท่ีุไดจากธรรมชาติคืออะไร ก. มีราคาแพง ข. ไมทนทาน ค. มีปริมาณจํากัด ง. กอใหเกิดมลพิษ 2. กระจกเงาทําข้ึนจากวัสดุใด ก. แกว ข. ไม ค. โลหะ ง. ยาง 3. ดามทัพพี ทํามาจากวัสดุชนิดใด ก. โลหะ ข. ไม ค. หิน ง. ยาง 4. กระดาษที่เราใชทําข้ึนจากวัสดุชนิดใด ก. ไม ข. พลาสติก ค. ยาง ง. โลหะ 5. วัสดุชนิดใดที่มนุษยทําข้ึนโดยกระบวนการทางเคมี ก. แกว ข. ดินเผา ค. ผาฝาย ง. พลาสติก 6. ทราย กรวด หนิ เกิดขึ้นมาไดอยางไร

ก. การทับถมของซากพืชซากสัตว ข. การแตกสลายของหิน กรวด ค. การนําหินมาถลุง ง. การใชสารเคมีในการยอยสลาย

7. วัสดุชนิดใดที่เกิดจากการทับถมของตนไม ก. ถานหิน ข. กอนหิน ค. น้ํามัน ง. ปูนซีเมนต

8. วัสดุในขอใดไดจากการกลั่นน้ํามันดิบ ก. ปลั๊กไฟ ข. สีเขียนรูป ค. กระเบื้อง ง. ไนลอน

9. ปากกา หวี ขวดน้ํา ไดมาจากวัสดุชนิดใด ก. ยาง ข. โลหะ ค. น้ํามัน ง. พลาสติก

10. วัสดุชนิดใดมีน้ําหนักเบา เหนียว และยืดหยุน ก. เชือกฟาง ข. เชือกปาน ค. เสนลวด ง. ยางรัดของ 11. วัสดุในขอใดมีความยืดหยุนมากที่สุด ก. ยาง ข. หนัง ค. ผา ง. เหล็ก 12. วัสดุในขอใดมีความแข็งมากที่สุด ก. หิน ข. เหล็ก ค. แกว ง. เพชร

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูวทิยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ จํานวนขอสอบ 30 ขอ เวลา 50 นาที

Page 138: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

126

13. วัสดุในขอใดตอไปนี้เมื่อถูกขูดขีดแลวจะเกิดรอยมากที่สุด ก. หิน ข. กระเบื้อง ค. ไม ง. แกว 14. การท่ีเหล็กสามารถยืดออกเปนแผนไดเมื่อถูกตี เนื่องจากเหลก็มีคุณสมบัติในขอใด ก. มีความออนนุม ข. มีความแข็ง ค. มีความเหนียว ง. นําความรอนไดดี 15. กระดาษในขอใดมี “ความเหนียว” นอยท่ีสุด ก. กระดาษหนังสือพิมพ ข. กระดาษชําระ ค. กระดาษสา ง. กระดาษลัง 16. วัสดุใดนําความรอนดีท่ีสุด ก. แกว ข. โลหะ ค. พลาสติก ง. ดินเผา 17. ถามีขนาดเทากัน วัสดุใดมีความหนาแนนมากที่สุด ก. ไม ข. เหล็ก ค. พลาสติก ง. กอนน้ําตาล 18. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับอะลูมิเนียม ก. เปนตัวนําความรอน ข. มีความแข็งมากกวาเหล็ก ค. ยืดกลับสูสภาพเดิมได ง. เปนฉนวนไฟฟาท่ีดี 19. วัสดุขอใดมีคุณสมบัติเปนฉนวนไฟฟา

ก. ดาง น้ําบริสุทธิ์ ข. เทียนไข กรด ค. โลหะ แทงแกว ง. กระเบื้อง สายยาง

20. หมวกที่นักวิศวกรหรอืชางกอสรางใสทํามาจากวัสดุชนิดใด เพราะเหตุใดจึงเลือกวัสดุชนิดนี้มาผลิต ก. พลาสติก เพราะมีสีสวยงาม สดใส ข. พลาสติก เพราะมีน้ําหนักเบา แข็งแรง ค. ยาง เพราะมีความนุม สวมใสสบาย ง. ยาง เพราะมีความยืดหยุนดทํีาใหกระชับศีรษะ 21. บุคคลใดที่เลือกใชวัสดุท่ีมีความปลอดภัยตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

ก. นิดเลือกใชสีทาบานที่ผสมสารตะกั่ว ข. เล็กใชโฟมในการทํากระทง ค. แมวใชพลาสติกที่ผสมสารชีวภาพ ง. นอยใชเครื่องปรับอากาศที่มีสาร CFC

22. วัสดุในขอใดที่ใชแลวสามารถนํากลับมาใชประโยชนไดอีก ก. แกว ข. พลาสติก ค. กระดาษ ง. ถูกทุกขอ 23. สารในขอใดขยายตัวไดดีท่ีสุด เมื่อไดรับความรอน ก. ไอน้ํา ข. น้ําทะเล ค. ไม ง. เหล็ก 24. ฟองน้ํา มีสถานะของสารตามขอใด ก. ไมสามารถจําแนกได ข. ของแข็ง

ค. ของเหลว ง. แกส

Page 139: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

127

25. สารในสถานะใดมีรูปรางแนนอน ก. ของแข็ง ข. ของแข็ง และ ของเหลว ค. ของเหลว และ แกส ง. ของแข็ง , ของเหลว และ แกส 26. แกสเมื่ออยูในภาชนะขนาดใหญข้ึน จะมีคุณสมบัติอยางไร

ก. ความหนาแนนลดลง ข. ความหนาแนนเพิ่มขึ้น ค. ความหนืดลดลง ง. ความหนืดเพิ่มขึ้น 27. สารชนิดใดกลายเปนแกสไดในอุณหภูมิปกติ

ก. สารสม ข. ลูกเหม็น ค. เกลือ ง. น้ําตาล 28. ของแข็งมีรูปรางและปริมาตรที่แนนอน เพราะเหตุผลใด

ก. อนุภาคจัดเรยีงเปนระเบียบเคลื่อนที่ไดยาก ข. อนุภาคอยูใกลชิดกันมาก แตเคลื่อนที่อิสระ

ค. อนุภาคจัดเรยีงเปนระเบียบแตเคลื่อนที่อิสระ ง. อนุภาคอยูใกลชิดติดกันหนาแนนมาก

29. นองมายดตองการเปดฝาเกลียวท่ีทําดวยโลหะออกจากขวดแกวแตเปดไมออก นักเรียนควรแนะนําใหนองมายดทําอยางไร

ก. นําขวดแกวไปแชตูเย็นสักครู ข. ใชปลายมีดคอยๆ แงะ ค. นําขวดไปตมในน้ํารอน ง. นําปากขวดไปอังกับเปลวไฟ 30. เพราะเหตุใดน้ําท่ีอยูในจานรองขาตูกับขาวจึงมีปริมาณลดลงเรื่อยๆ เมื่อเวลาผานไป ก. เพราะมีมดมากิน ข. เพราะน้ําระเหิดไปในอากาศ ค. เพราะน้ําระเหยไปในอากาศ ง. เพราะจานมีรูรัว่

Thank you ….

Page 140: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

128

ภาคผนวก ง แบบสอบถามความคิดเห็น

Page 141: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

129

แบบสอบถามความคิดเห็นตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

วัตถุประสงค แบบสอบถามความคิดเหน็ตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เรื่องวัสดแุละสมบัติของวัสดุ ซ่ึงผูวจิัยสรางและเกบ็ขอมูลขอมูลใหครอบคลุมความคิดเห็นดานตางๆ ดังนี้ ดานการออกแบบบทเรียน ดานเนื้อหาบทเรียน ดานความพึงพอใจในการเรยีน คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคาํถามโดยทําเครื่องหมาย ลงในชองทางดานขวามือใหตรงตามความ รูสึกที่แทจริงของนักเรียน

ระดับความคิดเห็น รายการแสดง ความคิดเห็น ดี

ท่ีสุด ดี ปาน

กลาง นอย นอย

ท่ีสุด ดานการออกแบบบทเรียน

1. นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามความตองการได 2. การเลือกและจบโปรแกรมสามารถกระทําไดงาย 3. รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา 4. ตัวอักษรอานงายชัดเจนและสีสันสวยงาม 5. บทเรียนมีกิจกรรมโตตอบหลากหลาย

ความคิดเห็นดานเนื้อหา 6. คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน 7. เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได 8. การจัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนเหมาะสม 9. แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม 10. การใหขอมูลยอนกลับชวยใหเขาใจบทเรียน 11. แบบทดสอบกอน- หลังเรยีนสอดคลองกบัเนื้อหาในบทเรียน

ความคิดเห็นดานความพึงพอใจในการเรียน 12. นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

13. คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ 14. นักเรียนไมรูสึกเสียหนาเมือ่ตอบคําถามผิด

Page 142: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

130

ระดับความคิดเห็น รายการแสดง ความคิดเห็น ดี

ท่ีสุด ดี ปาน

กลาง นอย นอย

ท่ีสุด 15. นักเรียนสามารถเรียนไดนาน ๆ โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือปวดตา

16. นักเรียนรูสกึพอใจเมื่อไดตอบคําถามดวยวธิีเลือกคําตอบ

17. นักเรียนรูสกึสนุกกับบทเรียน 18. นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน 19. นักเรียนเรียนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย 20. นักเรียนอยากใหเพื่อนนักเรียนอื่นมโีอกาสเรียนดวยคอมพิวเตอรบาง

ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………. (…………………………………………….) ……………………………………………….

Page 143: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

131

ภาคผนวก จ แบบประเมินคาความสอดคลอง

Page 144: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

132

แบบประเมินหาคาความสอดคลอง IOC แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

************************************ วัตถุประสงค เพื่อหาคาความสอดคลองของจุดประสงคการเรียนรู เนื้อหากับขอคําถาม และ ความเหมาะสมทางดานภาษา เปาหมาย ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน คําชี้แจง ใหผูเชี่ยวชาญพจิารณาขอความหรือขอคําถามของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับนีแ้ลวใหแสดงผลการพิจารณาของทาน โดยใสเครื่องหมาย ลงในชอง “พิจารณา” ตามความเหน็ของทาน ดังนี ้

ในชอง +1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความนั้นใชไดแลว ในชอง 0 ถาไมแนใจ ในชอง - 1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความนั้นไมตรงเนื้อหา

คะแนนพิจารณา คําถาม

ขอท่ี +1 0 -1 หมายเหตุ

ตอนที่ 1วัสดุในชีวิตประจําวนั 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ขอเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คะแนนพิจารณา คําถาม ขอท่ี +1 0 -1

หมายเหตุ

ตอนที่ 1วัสดุในชีวิตประจําวนั 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Page 145: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

133

คะแนนพิจารณา คําถาม ขอท่ี +1 0 -1

หมายเหตุ

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุ1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………

คะแนนพิจารณา คําถาม ขอท่ี +1 0 -1

หมายเหตุ

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุ13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

Page 146: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

134

คะแนนพิจารณา คําถาม ขอท่ี +1 0 -1

หมายเหตุ

ตอนที ่3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ขอเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………. (…………………………………………….) ……………………………………………….

คะแนนพิจารณา คําถาม ขอท่ี +1 0 -1

หมายเหตุ

ตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Page 147: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

135

แบบประเมินหาคาความสอดคลอง IOC แบบสอบถามความคิดเห็นตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

*************************************** วัตถุประสงค เพื่อหาคาความสอดคลองของจุดประสงคกับขอคําถาม ความเหมาะสมทางดานภาษา เปาหมาย อาจารยที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และดานคอมพวิเตอร จํานวน 3 ทาน คําชี้แจง ใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาขอความหรือขอคําถามของแบบสอบถามความคิดเห็นฉบับนี้แลวใหแสดงผลการพิจารณาของทาน โดยใสเครื่องหมาย ลงในชอง “พิจารณา” ตามความเหน็ของทาน ดังนี ้

ในชอง +1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความนั้นใชไดแลว ในชอง 0 ถาไมแนใจ ในชอง - 1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความนั้นไมตรงเนื้อหา

คะแนนพิจารณา ขอที่

คําถามหรือขอความ +1 0 -1

หมายเหตุ

ดานการออกแบบบทเรียน 1 นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามความตองการได 2 การเลือกและจบโปรแกรมสามารถกระทําไดงาย 3 รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา 4 ตัวอักษรอานงายชัดเจนและสีสันสวยงาม 5 บทเรียนมีกิจกรรมโตตอบหลากหลาย ความคิดเห็นดานเนื้อหา 6 คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน 7 เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได 8 การจัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนเหมาะสม 9 แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม 10 การใหขอมูลยอนกลับชวยใหเขาใจบทเรียน 11 แบบทดสอบกอน- หลังเรียนสอดคลองกับเนื้อหาใน

บทเรียน

ความคิดเห็นดานความพึงพอใจในการเรียน 12 นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง 13 คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ 14 นักเรียนไมรูสกึเสียหนาเมื่อตอบคําถามผิด

Page 148: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

136

คะแนนพิจารณา ขอที่

คําถามหรือขอความ +1 0 -1

หมายเหตุ

15 นักเรียนสามารถเรียนไดนาน ๆ โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือปวดตา

16 นักเรียนรูสึกพอใจเมื่อไดตอบคําถามดวยวิธีเลือกคําตอบ

17 นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน 18 นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน 19 นักเรียนเรยีนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย 20 นักเรียนอยากใหเพื่อนนักเรยีนอื่นมีโอกาสเรียนดวย

คอมพิวเตอรบาง

ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………. (…………………………………………….) ……………………………………………….

Page 149: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

137

ภาคผนวก ฉ การวิเคราะหขอมูล

Page 150: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

138

ตารางที่ 12 แสดงรายละเอียดการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวิทยาศาสตร 1.ทานคิดวาการที่จะสอนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาเรือ่งวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรมีการนําเสนอเขาสูบทเรียนรูปแบบใด

- การนําเสนอ ลักษณะและชนิดของวัสด ุ- นักเรียนไดสังเกต - ใชของจริงหรอื ภาพวีดิทัศนใหนักเรียนศึกษา - ตระหนักในความ สําคัญของธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ

- สื่อตัวอยางหรอื ของจริง - การอภิปราย นําไปสูการเรียนรู - เรียนเรือ่งงายไป หายากตามลําดับ

- การยกตัวอยาง วัสดุตางๆ - การสนทนา ซักถามทางวิทยาศาสตร - การศึกษาจาก ของจริง ของจําลอง - ตั้งประเด็นปญหา ท่ีจะเรียนหรือทดสอบ

2. ทานคิดวาเนื้อหาของเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ท่ีกําหนดข้ึนมานั้นมีความเหมาะสมกับผูเรียนมากนอยเพียงใด

- ปรับปรุงในบาง เนื้อหา - ใหรวมตอนที่ 2 และ 3 เขาดวยกัน - แบงยอยเนื้อหาเปน ตอนๆใหชัดเจน - ปรับชื่อตอนให สอดคลองกัน

- เนื้อหามีความ เหมาะสม - เนื้อหา “การ เปลี่ยนสถานะของสสาร” ไมมีในชั้น ป.5 ใหปรับเนื้อหาที่ เกินเปนการเสริมความรู

- เหมาะสมกับวัย ผูเรียนด ี- เนื้อหาการเปลีย่น สถานะควรเปนการเสริมความรูเทานั้น

3.ทานคิดวาการสอนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรในเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรใชกิจกรรมการสอนอยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพ

- ใชกระบวนการ ทดลอง - ฝกทักษะกระบวน การวิทยาศาสตร - ฝกปฏิบัติดวยตน เองและสรุปองคความรู - ใชภาพ 3 มิติ ประกอบการอธิบาย

- ใชกิจกรรมการ สังเกต - การสํารวจ - การทดลอง - การอภิปราย - การศึกษาคนควา - ภาพถายของจรงิ - ควรจัดเปน กิจกรรมกลุมและรายบุคคล

- การทดลองเปรยีบ เทียบสมบัติตางๆ ของวัสด ุ- การสืบคนขอมูล - การใชบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน - ภาพกราฟก 3 มิติ นําเสนอความรู

Page 151: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

139

ตารางที่ 12 (ตอ) หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

4. ทานคิดวาควรมีแบบฝกหัด เพื่อฝกใหผูเรียนสามารถเขาใจในเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ในรูปแบบใด

- การใชแบบฝกไม สามารถทําใหเกิดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร - ควรใชเปนรายงาน การศึกษาคนควา - การทําโครงงานที่ เกี่ยวของ

- ประเภทการ สํารวจ - การศึกษาคนควา - แบบฝกจํานวน 10 ขอในแตละตอน - การจับคู ถูกผิด - จัดทํารายงาน - การนําเสนอหนา ช้ันเรียนหรอืปายนิเทศ

- การทําแบบฝกทบ ทวนความรูแบบ ปรนัยจํานวน 10 ขอเปนอยางนอยในแตละตอน - เกมตางๆ จับคู ถูกผิด โยงเสน - การทําโครงงาน - การใช คอมพิวเตอรชวยสอน

5. ทานคิดวาเกณฑการตัดสินวานักเรียนสามารถเขาใจในเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรตรวจสอบจากสิ่งใด

- การทดสอบวัดผล จํานวน 20-30 ขอ ใหครบทั้ง 3 ดาน - การบอกถึง คุณสมบัติ - รายงานการสืบคน ขอมูล - โครงงานนักเรยีน - ผลงานนักเรียน - จําแนกคุณสมบัติ

- การเขารวม กิจกรรม - ประเมิน 3 ดาน ความรู ทักษะ และ เจตคติ - พฤติกรรมที ่แสดงถึงการมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร - พฤติกรรมดาน การมีจิตวิทยาศาสตร

- การเขารวม กิจกรรมตางๆ - การทดสอบหลัง เรียน 20-30 ขอ - การตรวจสอบ ผลงาน - การสังเกต พฤติกรรม

6. ทานมีความตองการใชสื่อการเรียนการสอนที่เปนคอมพิวเตอรชวยสอน มารองรับและเสริมการเรยีนเนื้อหาวัสดุและสมบัติของวัสดุ ในดานใดบาง

- สมบัติของวัสดุ - สถานะของวัสดุ - การเปลี่ยนสถานะ

- ดานเนื้อหา เปน บทเรียนสําเร็จรูป - ดานแบบฝกหัด หรือเกมการทดลองตามเนื้อหา

- เครื่องมือในการ สืบคนขอมูล - กิจกรรมการ

ทดลอง เสมือนจรงิ

Page 152: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

140

ตารางที่ 12 (ตอ) หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

7. ทานคิดวาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะมีขอดีและขอจํากัดสําหรบัผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไร

ขอดี - ไดเรียนรูสิง่ท่ีเปน นามธรรมเปนรปูธรรม - เขาใจงาย ขอจํากัด - ไมเกิดความคิดริเริ่ม

สรางสรรค

ขอดี - ไดเรียนรูและ หรือทบทวนความรูท่ีเรียนแลว - เรียนตามความ สนใจ - เรียนตาม ชวงเวลาที่ตนวาง ขอจํากัด - คอมพิวเตอรมไีม เพียงพอ - นักเรียนใช คอมพิวเตอรและหรือโปรแกรมไมเปน

ขอดี - ประหยัดเวลาใน การเรียนการสอน - เกิดความสนใจ - เรียนรูดวยตนเอง ขอจํากัด - ปฏิบัติจริงไมได - ใชเครื่อง คอมพิวเตอรทีละคน

8. ขอเสนอแนะอื่นๆ - ศึกษาเนื้อหาตาม หลักสูตรใหชัดเจน และตรงตามผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง - ใชเปนสื่อเสริมการ เรียน

- ควรเนนดาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร - ใหมีความยากงาย เหมาะสมสอดคลองกับวัยผูเรียน - เนนคุณลักษณะ ดานการมีจิตวทิยาศาสตร - ศึกษาเรื่องท่ีใกล ตัวไปเรื่องท่ีไกลตัว

- รูปแบบของการนํา เสนอ ภาพของจริงมีเสียงบรรยาย - เพิ่มดาน ปฏิสัมพันธใหมากขึ้น - ควรใชเปนสื่อ เสริมการเรยีน - หลังเรยีนจบ เนื้อหาควรใหนักเรียนทําโครงงาน

Page 153: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

141

ตารางที่ 12 (ตอ) หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

ผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 1. ทานคิดวาการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ท่ีเกี่ยวของกับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ควรมลีักษณะใด

- ในรูปแบบ e – book - ใช Author ware เปนโปรแกรมหลัก - Power Point มีภาพ เคลื่อนไหวประกอบ - เนนสอนการเรยีนรู กระบวนการทางวิทยาศาสตร - โครงสรางไม ซับซอน เราความสนใจเด็กๆ - ลําดับโครงสราง แบบเสนตรงในหนวยยอย

- ตองสัมผัสไดโดย การควบคุมบทเรียนเอง - ถายทอดเรื่องราว เชิงทดลองมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร - ใช CAI เปนหลัก ดวยโปรแกรมที่งายตอการใชงาน

- เปน Tutorial ผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง - ลําดับการเรียนรู ตองยืดหยุน - เลือกหวัขอไดดวย ตนเอง และเรียนแลวออกจากMenu ได - มีคําแนะนํา ควร เรียนอะไรกอนหลัง - ลําดับเนื้อหาตอง ชัดเจน มีเทคนิคการนําเสนอ

2. การนํา Multimedia มาประกอบใน CAI เพื่ออธิบายเนื้อหา เรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ มีความเหมาะสมเพียงใด อยางไร

- มีความเหมาะสม - ใชนําเสนอแทน ของจริง - ยนระยะเวลาในการ นําเสนอดวยแบบจําลอง - สีสันกราฟกนา สนใจ - ดนตรีประกอบหรือ เพลงที่สนุก เราความอยากเรียนรู - ตัวการตูนที่ผูเรยีน กําลังช่ืนชอบ

- จําเปนตองนํามา ประกอบใน CAI - เนื้อหาทั้งทฤษฎี และรูปภาพตองสื่อความไดชัดเจน - มีภาพเคลื่อนไหว ภาพที่หมุนได เราความสนใจ - การยกตัวอยางใช ภาพสื่อความหมาย - เสียงบรรยายที ่ชัดเจน ผูใหญเสียงเด็ก

- กําหนดสิ่งท่ี ตองการอยากใหรู - ไมใชมากเกินไป กําหนดจุดที่ใชใหชัดเจน - กราฟกมีโทนสีสด ใสที่เหมาะกับวัยผูเรียน - ขนาดของภาพตอง มาตรฐาน - เสียงชัดเจน จับใจความไดงาย มีดนตรีประกอบเทาท่ี จําเปน

Page 154: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

142

ตารางที่ 12 (ตอ) หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

3. แบบฝกใน CAI ท่ีเหมาะสมกับเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ตามศักยภาพของตัวสือ่ ควรเปนรูปแบบใด

- ทําใหเกิดความ อยากรู - แบบเลือกตอบ มี เฉลย เมื่อตอบผิด - แบบจิกซอร มีการ เคลื่อนไหว สีสนัสวยงาม - เรียงลําดับงายไป ยาก

- แบบเลือกตอบ เลือกได - เกมจับคู - กิจกรรม

กลมกลืน เนื้อหา เหมือนไดทดลอง

- การทดสอบ จับคู เติมคํา - ให Feedback เฉลย คําตอบ - สรุปผลแบบฝก - จํานวน 10 ขอ หรือมากกวานั้น

4. การวัดและประเมินผลการเรียนใน CAI ท่ีควรนํามาใชในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ลักษณะใดนาจะเหมาะสมที่สุด

- ขอสอบคูขนาน - ขอสอบวินิจฉัย - ขอสอบแบบเลือก ตอบ - การเติมคํา หรือ จับคู - จํานวน 10 –15 ขอ ในแตละตอน - รูสึกสนุก สบายใน การสอบ

- ขอสอบ 4 ตัวเลือก

- สุมมาตอนละ 5 –10 ขอ - อาจเปนเติมคํา จับคู - สังเกตพฤติกรรม มีความสุขมากนอยเพียงใด

- ขอสอบในตัว - มีหลากหลายโจทย นําตัวอยาง/เหตุการณมาเปนโจทย - สอดคลองกับ จุดประสงค/เนื้อหา - ตอนละ 10 ขอ หรือมากกวานั้น - แสดงผลรายงาน ผลบนหนาจอและพิมพออกมาได

5. ทานตองการใหสื่อ CAI ท่ีเกี่ยวของกับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพัฒนาไปในทิศทางใด และควรนําโปรแกรมใดที่จะมาเสริมการเรยีนการสอนบทเรียน เรื่องวสัดุและสมบัติของวัสดุ อีกบาง

- กระบวนการทาง วิทยาศาสตร - ใชโปรแกรม Flash - Photo Shop - 3 Ds max - Toomboom Studio สรางการตูน - สื่อท่ีผูเรียนมีสวน รวมในกิจกรรม/เนื้อหา

- ใหหลุดออกจาก การเปนหนังสือ - Flash 5 / MX - PhotoShop 7 / Cs - Switch 2.0 - 3D Cool - Cool edit Pro 2.1 - SWF Scanner

แกไข Flash

- สํารวจคนหาเอง - ภาพเคลื่อนไหว Flash 5 / MX - การวาดภาพเสน ตางๆ - illustrator - PhotoShop - โปรแกรมดาน เสียง Sound Forge

Page 155: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

143

ตารางที่ 12 (ตอ) หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

6. ทานคิดวาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะมีขอดีและขอจํากัดสําหรบัผูเรียนในการเรียนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไร

ขอดี - ทดแทนสวนที่เปน ของจริง - หลีกเลี่ยงสิง่ท่ีเปน อันตรายทางวิทยาศาสตร ขอจํากัด - ไมสามารถปฏิบัติ จริงได - ขาดรายละเอียด

ขอดี - ทดลองได ทบทวนไดตลอด - มีความเร็วของ การเรียนรู - นาสนใจกวา หนังสือ ขอจํากัด - ไมสามารถปฏิบัติ

จริงได - ประสิทธิภาพ

ของเครื่องท่ีแตกตาง

ขอดี - ผูเรียนสนใจ บทเรียน - ศึกษาไดตามถนัด ขอจํากัด - ติดขัดในการ สอบถาม - ทักษะการ ออกแบบ การสรางสื่อ - ตองสรางตาม ความรูความชํานาญของผูพัฒนา

7. ขอเสนอแนะอื่นๆ - ตองสรางใหนา สนใจ มีแรงจูงใจในการเรียน - เนื้อหาตองไมยาก - ใชงานไดงาย - มีคูมือการใชงาน - ดําเนินเรื่องกระชับ รวดเร็ว ไมนาเบื่อ - เสียงบรรยายชดัเจน - เนื้อหางายไปอยาก มีลําดับชัดเจน - เสียงประกอบเบาๆ

- โปรแกรมให แตกตางจากหนังสือ - กราฟกตางๆ คํานึงถึงศักยภาพ CAI ดวย - ใชการตูน เดินเรื่อง - เสียงบรรยาย ผูใหญเสียงเด็ก - การDesign ตอง ใหนาสนใจ - ใชเมาส คียบอรด ไดงาย - ใหสําเร็จตาม กระบวนการสรางสื่อท่ีถูกตอง

- การนําเสนอดวย ไตเติ้ลท่ีเดน กอนเขาสูเมนู - เวลาในการเรียน ตองกระชับ - ตัวอักษรตอง ท่ัวไป หากเปนFront ตองเปนกราฟก - ขนาดอักษร 18 –24 พอยท - โทนสีสดใส ใช สีขาวเปนหลัก - ตัวอักษรตัดกับพื้น ชัดเจน - วาง Flowchart กอนทํางาน

Page 156: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

144

ตารางที่ 13 ระดับการประเมินจากกรรมการการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 6 ทาน โดยเปนดานเนื้อหา 3 ทานและดานคอมพิวเตอรชวยสอน 3 ทาน

กรรมการประเมินคุณภาพสื่อ ขอที่

รายการประเมิน ทานที่ 1

ทานที่ 2

ทานที่3

ทานที่4

ทานที่ 5

ทานที่ 6

X

1 สวนนําของบทเรียน เราความสนใจ,ใหขอมูลที่จําเปน (วัตถุประสงคเมนูหลัก สวนชวยเหลือ ฯลฯ)

4

4

3

4

4

3

3.63

2 เนื้อหาบทเรียน

2.1 โครงสรางของเนื้อหาชัดเจนมีความ กวาง ความลึก เช่ือมโยงความรูเดิมกับความรูใหม 2.2 มีความถูกตองตามหลักวิชา 2.3 สอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการ นําเสนอ 2.4 สอดคลองกับการประยุกตในการเรียน การสอน , มีความสัมพันธตอเนื่อง 2.5 ความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 2.6 ไมขัดตอความมั่นคงของชาติและ

คุณธรรมจริยธรรม

3 3 4 3 4 5

5 5 5 4 5 5

4 4 4 3 4 5

4 4 4 4 4 5

4 4 5 4 3 5

4 4 4 4 3 5

4.00 4.00

4.33

3.66 3.83

5.00

3. การใชภาษา ใชภาษาถูกตอง เหมาะสมกับวัยของผูเรียน สื่อความหมายไดชัดเจน,เหมาะสมกับผูเรียน

3

5

4

4

4

4

4.00

4. การออกแบบระบบการเรียนการสอน 4.1 ออกแบบดวยระบบตรรกที่ดี เนื้อหามี ความสัมพันธ ตอเนื่อง 4.2 สงเสริมการพัฒนาความคิดสรางสรรค 4.3 มีความยืดหยุน สนองความแตกตาง ระหวางบุคคล ครอบคุมลําดับเนื้อหา ลําดับการเรียนและแบบฝกหัดได 4.4 ความยาวของการนําเสนอแตละหนวย/ ตอนเหมาะสม

3 3 3 3

5 5 5 5

3 3 4 3

4 4 4 4

4 3 4 3

4 3 3 4

3.83 3.50

3.83

3.66

Page 157: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

145

ตารางที่ 13 (ตอ) กรรมการประเมินคุณภาพสื่อ ขอ

ที่ รายการประเมิน

ทานที่ 1

ทานที่ 2

ทานที่3

ทานที่4

ทานที่ 5

ทานที่ 6

X

4.5 กลยุทธในการถายทอดเนื้อหานาสนใจ 4.6 มีกลยุทธประเมินผลใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูไดอยางเหมาะสม มีความหลากหลายและปริมาณเพียงพอที่สามารถตรวจสอบความเขาใจบทเรียนดวยตนเองได

4 4

5 5

4 3

5 4

4 4

4 3

4.33

3.83

5. สวนประกอบดาน MULTIMEDIA 5.1 ออกแบบหนาจอเหมาะสม งายตอการใชสัดสวนเหมาะสม สวยงาม 5.2 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษรชัดเจน สวยงามอานงายเหมาะสมกับระดับผูเรียน 5.3 ภาพกราฟกเหมาะสม ชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา และมีความสวยงาม มีความคิดสรางสรรคในการออกแบบและสรางภาพ 5.4 คุณภาพการใชเสียงดนตรีประกอบ บทเรียนเหมาะสม ชัดเจน นาสนใจ ชวนคิด นาติดตาม

5 4 4 4

5 5 4 5

4 5 3 5

5 5 5 5

4 5 4 5

4 4 4 3

4.50

4.66

4.16

4.50

6. การออกแบบปฏิสัมพันธ 6.1 ออกแบบปฏิสัมพันธใหโปรแกรมใช งาย สะดวกโตตอบกับผูเรียนอยางสม่ําเสมอ การควบคุมเสนการเดินบทเรียน(Navigation) ชัดเจน ถูกตอง ตามหลักเกณฑ และสามารถ ยอนกลับไปยังจุดตาง ๆ ไดงาย ,รูปแบบปฏิสัมพันธ เชน การพิมพ ใชเมาสเหมาะสม, มีการควบคุมทิศทางความชาเร็วของบทเรียน

6.2 การใหผลปอนกลบัเสริมแรงหรือให ความชวยเหลือเหมาะสมตามความจําเปน มีขอมูลปอนกลับที่เอื้อใหผูเรียนไดวิเคราะห

4 3

5 5

4 4

4 4

4 4

4 3

4.16

3.83

Page 158: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

146

ตารางที่ 14 แสดงการหาคา IOC ของแบบทดสอบ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและ สมบัติของวัสดุ จากผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน แบบทดสอบ 3 ตอน ตอนละ 10 ขอ

ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอ

ที่ คนที่1 คนที่2 คนที่3 ผลรวมของคะแนน

( ) IOC=

แปลผล

ตอนที่ 1วัสดุในชีวิตประจําวนั 1. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 3. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 4. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง 5. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 6. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 8. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 9. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 10. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 12. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 13. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 17. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 19. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 20. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได

∑R NR∑

Page 159: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

147

ตารางที่ 14 (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอ

ที่ คนที่1 คนที่2 คนที่3 ผลรวมของคะแนน

( ) IOC=

แปลผล

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสด ุ 1. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 3. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง 4. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 5. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 8. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 9. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 10. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 12. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 13. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง 17. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 19. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 20. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 21. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 22. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 23. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 24. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 25. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได

∑R NR∑

Page 160: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

148

ตารางที่ 14 (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอ

ที่ คนที่1 คนที่2 คนที่3 ผลรวมของคะแนน

( ) IOC=

แปลผล

ตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ 1. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 3. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 4. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 5. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 8. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 9. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 10. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 12. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 13. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 17. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง 19. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง 20. 0 0 +1 1 0.33 ปรับปรุง

จากตารางที่ 14 ขอที่มีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป มีความสอดคลองสามารถนํามาใชในแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได สวนขอท่ี ไดนอยกวา 0.50 นําไปปรับปรุงแกไขตอไป

∑R NR∑

Page 161: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

149

ตารางที่ 15 แสดงการหาคา IOC ของแบบแสดงความคดิเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสด ุจากอาจารยที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และ ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร จํานวน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอที่ คนที่1 คนที่2 คนที่3

ผลรวมของคะแนน ( )

IOC=

แปลผล

1. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 3. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 4. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 5. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 8. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 9. +1 0 +1 2 0.67 นําไปใชได 10. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 12. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 13. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 17. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 19. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 20. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได

จากตารางที่ 15 ขอที่มีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป มีความสอดคลองสามารถนํามาใชในแบบสอบถามความคิดเหน็ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตอไป

ขอคําถามทั้งหมดผานเกณฑการประเมินเนื่องจากผูเชีย่วชาญไดชวยปรับดานภาษาใหมีความเหมาะสมและถูกตอง ผูวิจัยจึงไดปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ

∑R NR∑

Page 162: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

150

ตารางที่ 16 แสดงการหาคา IOC ของแบบแสดงความคดิเห็นตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เพื่อตรวจสอบสํานวนภาษาและลําดับของเนื้อหา ดานความชัดเจนของภาพ ตวัอักษร และเสียง การอธิบายเนื้อหา คําถาม และการใชงานของบทเรียนนกัเรียนกลุมทดลองเดี่ยว (One-to-one Tryout) จํานวน 3 คน

นักเรียน (R) ขอที่ คนที่1 คนที่2 คนที่3

ผลรวมของคะแนน ( )

IOC=

แปลผล

1. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 3. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 4. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 5. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 8. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 9. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 10. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 12. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 13. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 17. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 19. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 20. +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได

จากตารางที่ 16 ขอที่มีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป มีความสอดคลองสามารถนํามาใชในแบบสอบถามความคิดเหน็ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตอไป

∑R NR∑

Page 163: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

151

ตารางที่ 17 แสดงผลการตรวจคะแนนและการวเิคราะหขอสอบกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดแุละสมบัตขิองวสัดุ ของนกัเรยีนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 ขอสอบจํานวน 60 ขอ จํานวน 30 คน คะแนนมาตรฐาน (Standard Score)

คนที่ คะแนนดิบ Z – Score T – Score คนที่ คะแนนดิบ Z – Score T – Score 1 47 1.37 63.7 16 35 -0.79 42.1 2 32 -1.33 36.7 17 27 -2.23 27.7 3 47 1.37 63.7 18 31 -1.51 34.9 4 45 0.95 59.5 19 45 0.95 59.5 5 43 0.65 56.5 20 39 -0.07 49.3 6 41 0.29 52.9 21 41 0.29 52.9 7 35 -0.79 42.1 22 44 0.83 58.3 8 42 0.47 54.7 23 34 -0.97 40.3 9 40 0.11 51.1 24 40 0.11 51.1 10 44 0.83 58.3 25 45 0.95 59.5 11 33 -1.15 38.5 26 41 0.29 52.9 12 46 1.19 61.9 27 44 0.83 58.3 13 39 -0.07 49.3 28 34 -0.97 40.3 14 29 -1.87 31.3 29 36 -0.61 43.9 15 43 0.65 56.5 30 40 0.11 51.1

จากตาราง ที่ 17 สรุปสถิติพื้นฐานไดวา Mean = 39.4 Median = 40.5 Mode = 42.5 Range = (47 – 27) = 20 Standard Deviation = 5.55

Page 164: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

152

ตารางที่ 18 แสดงการวิเคราะหหาคาความยากงาย (Difficulty) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบ จํานวน 60 ขอ ขอที่ PH PL PH + PL PH – PL P r แปลผล

1 9 9 18 0 0.90 0.00 ใชไมได 2 5 6 11 -1 0.55 -0.10 ใชไมได 3 6 8 14 -2 0.70 -0.20 ใชไมได 4 0 5 5 -5 0.25 -0.50 ใชไมได 5 5 10 15 -5 0.75 -0.50 ใชไมได 6 9 2 11 7 0.55 0.70 คุณภาพด ี7 9 7 16 2 0.80 0.20 คุณภาพด ี8 9 9 18 0 0.90 0.00 ใชไมได 9 10 3 13 7 0.65 0.70 คุณภาพด ี10 0 0 0 0 0.00 0.00 ใชไมได 11 10 10 20 0 1.00 0.00 ใชไมได 12 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี13 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี14 10 9 19 9 0.95 0.10 ใชไมได 15 4 2 6 2 0.30 0.20 คุณภาพด ี16 8 9 17 -1 0.85 -0.10 ใชไมได 17 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี18 7 4 11 3 0.55 .030 คุณภาพด ี19 8 5 13 3 0.65 .030 คุณภาพด ี20 0 1 1 -1 0.05 -0.10 ใชไมได 21 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี22 7 4 11 3 0.55 0.30 คุณภาพด ี23 6 4 10 2 0.50 0.20 คุณภาพด ี24 5 3 8 2 0.40 0.20 คุณภาพด ี25 9 9 18 0 0.90 0.00 ใชไมได 26 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได

Page 165: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

153

ตารางที่ 18 (ตอ) ขอที่ PH PL PH + PL PH – PL P r แปลผล 27 4 2 6 2 0.30 0.20 คุณภาพด ี28 8 6 14 2 0.70 0.20 คุณภาพด ี29 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี30 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได 31 5 3 8 2 0.40 0.20 คุณภาพด ี32 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได 33 10 8 18 2 0.90 0.20 ใชไมได 34 10 8 18 2 0.90 0.20 ใชไมได 35 10 10 20 0 1.00 0.00 ใชไมได 36 9 5 14 4 0.70 0.40 คุณภาพด ี37 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได 38 9 1 10 8 0.50 0.80 คุณภาพด ี39 9 6 15 3 0.75 0.30 คุณภาพด ี40 10 1 11 9 0.55 0.90 คุณภาพด ี41 10 5 15 5 0.75 0.50 คุณภาพด ี42 10 10 20 0 1.00 0.00 ใชไมได 43 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได 44 7 5 12 2 0.60 0.20 คุณภาพด ี45 1 3 4 -2 0.20 -0.20 ใชไมได 46 6 4 10 2 0.50 0.20 คุณภาพด ี47 4 3 7 1 0.35 0.10 ใชไมได 48 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได 49 10 8 18 2 0.90 0.20 ใชไมได 50 10 9 19 1 0.95 0.20 ใชไมได 51 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี52 5 1 6 4 0.30 0.40 คุณภาพด ี53 10 9 19 1 0.95 0.10 ใชไมได

Page 166: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

154

ตารางที่ 18 (ตอ) ขอที่ PH PL PH + PL PH – PL P r แปลผล 54 7 1 8 6 0.40 0.80 คุณภาพด ี55 6 3 9 3 0.45 0.30 คุณภาพด ี56 3 1 4 2 0.20 0.20 คุณภาพด ี57 3 1 4 2 0.20 0.20 คุณภาพด ี58 1 2 3 -1 0.15 -0.10 ใชไมได 59 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี60 10 6 16 4 0.80 0.40 คุณภาพด ี

Page 167: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

155

ตารางที่ 19 แสดงผลการคาความยากงาย (Difficulty) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่คัดเลือกไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง จํานวน 30 ขอ

ขอที่ PH PL PH + PL PH – PL P r แปลผล 1 9 2 11 7 0.55 0.70 คุณภาพด ี2 9 7 16 2 0.80 0.20 คุณภาพด ี3 10 3 13 7 0.65 0.70 คุณภาพด ี4 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี5 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี6 4 2 6 2 0.30 0.20 คุณภาพด ี7 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี8 7 4 11 3 0.55 0.30 คุณภาพด ี9 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี10 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี11 7 4 11 3 0.55 0.30 คุณภาพด ี12 6 4 10 2 0.50 0.20 คุณภาพด ี13 5 3 8 2 0.40 0.20 คุณภาพด ี14 4 2 6 2 0.30 0.20 คุณภาพด ี15 8 6 14 2 0.70 0.20 คุณภาพด ี16 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี17 5 3 8 2 0.40 0.20 คุณภาพด ี18 9 5 14 4 0.70 0.40 คุณภาพด ี19 9 1 10 8 0.50 0.80 คุณภาพด ี20 9 6 15 3 0.75 0.30 คุณภาพด ี21 10 1 11 9 0.55 0.90 คุณภาพด ี22 10 5 15 5 0.75 0.50 คุณภาพด ี23 7 5 12 2 0.60 0.20 คุณภาพด ี

Page 168: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

156

ตารางที่ 19 (ตอ) ขอที่ PH PL PH + PL PH – PL P r แปลผล 24 6 4 10 2 0.50 0.20 คุณภาพด ี25 9 3 12 6 0.60 0.60 คุณภาพด ี26 5 1 6 4 0.30 0.40 คุณภาพด ี27 7 1 8 6 0.40 0.60 คุณภาพด ี28 6 3 9 3 0.45 0.30 คุณภาพด ี29 8 5 13 3 0.65 0.30 คุณภาพด ี30 10 6 16 4 0.80 0.40 คุณภาพด ี

คาความเที่ยงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ttr = ⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡−

−∑

211 S

pqkK

∑ X = 1182 X =

NX∑

= 30

1182 = 39.4

∑ 2X = 47466

2S = 22

⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛− ∑∑

NX

NX

= ( )24.3930

47466−

= 1582 – 1552.36 2S = 29.84

ttr = ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −

− 48.2918.91

16060

= 1.017 [ 0.69 ] = 0.701

ttr = 0.70

Page 169: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

157

ตารางที่ 20 แสดงผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนจากบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน จากกลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5

คะแนนระหวางเรียน นักเรียนคนที่ ตอนที่ 1

(10) ตอนที่2

(10) ตอนที่3

(10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ยรอยละ

คะแนนสอบหลังเรียน

(30)

คาเฉลี่ย รอยละ

1 7 8 7 22 73.33 20 66.67 2 7 8 7 22 73.33 22 73.33 3 7 7 8 22 73.33 27 90.00 4 8 10 10 28 93.33 30 100.00 5 9 7 9 25 83.33 18 60.00 6 7 6 8 21 70.00 18 60.00 7 8 7 8 23 76.67 20 66.67 8 9 9 9 27 90.00 19 63.33 9 9 8 10 27 90.00 25 83.33 10 10 10 10 30 100.00 30 100.00 11 7 7 9 23 76.67 21 70.00 12 7 10 7 24 80.00 22 73.33 13 5 6 7 18 60.00 26 86.67 14 6 7 7 20 66.67 18 60.00 15 8 10 10 28 93.33 23 76.67 16 5 10 8 23 76.67 24 80.00 17 6 8 10 24 80.00 29 96.67 18 5 9 8 22 73.33 26 86.67 19 7 10 10 27 90.00 29 96.67 20 9 10 10 29 96.67 29 96.67 21 6 10 10 26 86.67 22 73.33 22 6 10 10 26 86.67 22 73.33 23 10 10 10 30 100.00 30 100.00 24 7 9 10 26 86.67 26 86.67

Page 170: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

158

ตารางที่ 20 (ตอ) คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10)

ตอนที่2 (10)

ตอนที่3 (10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ยรอยละ

คะแนนสอบหลังเรียน

(30)

คาเฉลี่ย รอยละ

25 8 4 8 20 66.67 25 83.33 26 8 8 9 25 83.33 24 80.00 27 8 4 10 22 73.33 29 96.67 28 6 6 6 18 60.00 22 73.33 29 7 6 10 23 76.67 26 86.67 30 5 8 8 21 70.00 25 83.33

เฉล่ียรอยละ 80.22 80.78 คาประสิทธิภาพ E1 / E2 = 80.22 / 80.78

Page 171: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

159

ตารางที่21 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน กลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและสมบตัิของวัสด ุเพื่อทดสอบความมีนัยสําคัญของ ความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรียน ดังนี้

(n = 30) ขอที่ คะแนนกอนเรยีน(x1) คะแนนหลังเรยีน(x2) D(x2-x1) D2

1 13 20 7 49 2 18 22 4 16 3 11 27 16 256 4 12 30 18 324 5 15 18 3 9 6 14 18 4 16 7 15 20 5 25 8 13 19 6 36 9 19 25 6 36 10 22 30 8 64 11 19 21 2 4 12 16 22 6 36 13 15 26 11 121 14 10 18 8 64 15 11 23 12 144 16 13 24 11 121 17 12 29 17 289 18 15 26 11 121 19 17 29 12 144 20 17 29 12 144 21 12 22 10 100 22 10 22 12 144 23 18 30 12 144 24 19 26 7 49 25 13 25 12 144

Page 172: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

160

ตารางที่21 (ตอ) ขอที่ คะแนนกอนเรยีน(x1) คะแนนหลังเรยีน(x2) D(x2-x1) D2 26 13 24 11 121 27 22 29 7 49 28 14 22 8 64 29 16 26 10 100 30 11 25 14 196 ΣD = 280 ΣD2 = 3110

การวิเคราะหขอมูลโดยใช t-test แบบ Dependent

t =

)1()( 22

− ∑∑∑

nDDn

D df = n -1

=

130)280()3110(30

2802

−−

df = 29

t = 12.352 คา t จากตารางที่ระดับ α .01 , df = 29 , t = 2.462

จากการคํานวณพบวาคา t ที่คํานวณได มคีามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว กลาวคือ คะแนนหลังการเรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 173: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

161

ตารางที่22 แสดงผลรายละเอียดการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนทีม่ีตอบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน

ระดับความคิดเห็น ความถี่ (คน)

ขอ ที่

รายการประเมิน

5 4 3 2 1 X S.D. แปล

ผล ลําดับที่

ดานการออกแบบบทเรียน 1. นักเรียนมีโอกาสเลือก

บทเรียนตามความตองการได 16 13 1 - - 4.50 0.57 ดีที่สุด 15

2. รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา

19 9 2 - - 4.57 0.63 ดีที่สุด 12

3. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และ สีสันสวยงาม

22 7 1 - - 4.70 0.53 ดีที่สุด 5

4. บทเรียนมีกิจกรรมโตตอบ หลากหลาย

21 5 3 1 - 4.53 0.82 ดีที่สุด 14

5. การเลือกและจบโปรแกรมสามารถกระทําไดงาย

24 4 2 - - 4.73 0.58 ดีที่สุด 4

ดานเนื้อหา

6. คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน

21 7 2 - - 4.63 0.61 ดีที่สุด 9

7. การจัดลําดับเนื้อหาในแตละ บทเรียนเหมาะสม

21 8 1 - - 4.67 0.55 ดีที่สุด 7

8. แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม

19 10 1 - - 4.60 0.56 ดีที่สุด 10

9. การใหขอมูลยอนกลับชวยให เขาใจบทเรียน

21 6 3 - - 4.60 0.67 ดีที่สุด 11

10 แบบทดสอบกอน- หลังเรียนสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน

19 7 4 - - 4.50 0.73 ดีที่สุด 17

11 เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

17 11 2 - - 4.50 0.63 ดีที่สุด 16

ดานความพึงพอใจในการเรียน

12 นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

21 8 1 - - 4.67 0.55 ดีที่สุด 7

Page 174: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

162

ตารางที่22 (ตอ) ระดับความคิดเห็น

ความถี่ (คน) ขอ ที่

รายการประเมิน

5 4 3 2 1 X S.D. แปล

ผล ลําดับที่

13 คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ

23 6 1 - - 4.73 0.52 ดีที่สุด 3

14 ไมรูสึกเสียหนาเมื่อนักเรียนตอบคําถามผิด

20 6 3 1 - 4.50 0.82 ดีที่สุด 18

15 นักเรียนสามารถเรียนไดนาน โดยไมรูสึกวาปวดหัวหรือ ปวดตา

15 9 6 - - 4.30 0.79 ดี 20

16 นักเรียนรูสึกพอใจเมื่อไดตอบคําถามดวยวิธีเลือกคําตอบ

23 7 - - - 4.77 0.43 ดีที่สุด 2

17 นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน

23 5 2 - - 4.70 0.59 ดีที่สุด 6

18 นักเรียนมีความเปนอิสระในขณะเรียน

16 10 4 - - 4.40 0.72 ดี 19

19 นักเรียนเรียนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย

20 6 4 - - 4.53 0.73 ดีที่สุด 13

20 นักเรียนอยากใหเพื่อนนักเรียนอื่นมีโอกาสเรียนดวยคอมพิวเตอรบาง

26 2 2 - - 4.80 0.55 ดีที่สุด 1

รวม 407 146 45 2 - 4.59 0.64 ดีท่ีสุด

Page 175: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

163

ภาคผนวก ช ตัวอยางเครื่องมือ

Flow chart Story board

Page 176: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

164

ผังงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

คอมพิวเตอรชวยสอน โดย เอกสิทธิ์ เกิดลอย

เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5

พิมพช่ือผูเรียน

วัตถุประสงคการเรียนรู

แนะนํากอนเรียน

สารบัญบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสดุ

ตอนที่ 1 วัสดุในชวีิต ประจําวนั

ออกจากโปรแกรม

สวัสดี

เร่ิมตน

แบบฝกหัด แบบฝกหัด แบบฝกหัด

Page 177: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

165

สวนนําบทเรียน

Page 178: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

166

สารบัญบทเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน

Page 179: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

167

จุดประสงค การเรียนรู

ตอนที่ 1 วัสดุใน

ชีวิตประจําวัน

Page 180: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

168

แบบฝกหดั ตอนที่ 1

ตอนที่ 2 สมบัติของวัสดุ

Page 181: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

169

แบบฝกหดั ตอนที่ 2

ตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ

Page 182: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

170

แบบฝกหดั ตอนที ่3

แบบทดสอบ หลังเรียน

Page 183: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

171

ออกจาก โปรแกรม

Page 184: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

172

ภาคผนวก ซ คูมือการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 185: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

173

1. ใหผูเรียนศึกษาคูมือการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหเขาใจที่สุด 2. เริ่มตนเรียนบทเรียน ดังนี้

2.1 เปดเครื่องคอมพิวเตอร 2.2 ใสแผน CD - ROM วัสดุและสมบัติของวัสดุ 2.3 เขาโปรแกรม เครื่องจะเลนเองแบบ Autorun

โปรแกรมเริ่มแสดงบทนํา (Title) คําแนะนําการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง วัสดุและสมบัติของวัสดุ

ขั้นตอนการเขาสูบทเรียน มีดังนี้ 1. ผูสอนเปดโปรแกรมเพือ่เขาสูบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 2. ใหนักเรียนสวม Head Phone เพื่อฟงเสียงบรรยายแลวทําตามคําบรรยาย

- ในแตละขอของเนื้อหาเมื่อจบใน 1 หนวยการเรียนจะมีแบบทดสอบ

ใหสามารถเลือกตอบได - ผูเรียนตองทําแบบทดสอบหลังเรียนทุกครั้งเพื่อประเมินตนเอง เมื่อทําเสร็จ

แลวจะแสดงจํานวนขอที่ทําถูกและแสดงจํานวนขอที่ทําผิด

การเขาสูเนื้อหา

บทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน

Page 186: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

174

เมื่อคลิกเมาสที่ปุมน้ีโปรแกรมจะนาํออกจากเมนู

เมื่อคลิกเมาสที่ขอความท่ีขีดเสนใต จะอธิบายความหมายของคําหรือแสดงภาพประกอบ

คลกิเมือ่ศกึษาแตละเรื่องจบ เพือ่ทาํแบบฝกหดัระหวางเรยีน

ปุมทางเลือกตาง ๆ ในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีลักษณะดังนี้

การออกจากโปรแกรมใหคลิกไปที่ปุมที่ออกจากโปรแกรม แลวเลือกใชโปรแกรมจะออกใหอัตโนมัต ิ

เมื่อคลิกเมาสที่ปุมน้ีโปรแกรมจะนาํไปยังหนาตอไป

เมื่อคลิกเมาสที่ปุมน้ีโปรแกรมจะยอนกลับไปยังหนาท่ีผานมา

ปุมทางเลือกตาง ๆ

เมื่อคลิกเมาสที่ปุมน้ีจะนําเสนอภาพหรือขอความอธิบายใหเขาใจหรือเขาสูเรื่องตางๆ

เมื่อคลิกเมาสที่ปุมน้ีจะนําออกจากโปรแกรม

Page 187: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

175

หนาเมนูหลัก ใหนักเรียนคลิกท่ี เนื้อหา เพื่อศึกษา เม่ือศึกษาเนื้อหาทั้ง 3 เร่ืองแลว ใหนักเรียนกลับมาหนาเมนหูลัก เพื่อทําแบบทดสอบหลังเรียนตอไป

เมนูในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

แบบทดสอบกอนเรียน

แบบทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน ใหนักเรียนคลกิท่ี ปุมแบบทดสอบ กอนเรียน ในหนาเมนู เพื่อทําแบบ ทดสอบกอนเรียน โดยเปนคําตอบ

แบบเลือกตอบ

แบบทดสอบหลังเรียน ใหนักเรียนคลกิท่ี ปุม แบบทดสอบ

หลังเรียน ท่ีเมนูหลัก เม่ือศึกษาเนื้อหาท้ัง 3 เร่ืองแลว เพื่อทําแบบทดสอบ

หลังเรียน

Page 188: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

176

เมนูเนื้อหาตอนที่1 วัสดุในชีวิตประจําวัน ประกอบดวย 1. วัสดุที่ไดจากพืชและสัตว 2. วัสดุที่ไดจากโลก

ใหเลือกที่ปุมสี่เหลี่ยมตัวเลข 1 หรือ 2 เมื่อคลิกจะขึ้น ชื่อเรื่องที่เราตองการ เมื่อศึกษาจบแลวคอยเขาเมนูตอไปนี้

- แบบฝกหัด

Page 189: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

177

หนาเนื้อหาตอนที่ 2 สมบัติของวัสดุ ประกอบดวย 1. ลักษณะเฉพาะตัว 2. สมบัติของวัสดุตางๆ 3. การนําสมบัติของวัสดุมาใชประโยชน ใหเลือกที่รูปปุมขอตางๆ เมื่อคลกิจะขึ้นชื่อเรื่องที่เราตองการ

เมื่อศึกษาจบแลวคอยเขาเมนูตอไปนี้ - แบบฝกหัด

Page 190: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

178

หนาเนื้อหาตอนที่ 3 สมบัติของสารในสถานะตางๆ 1. ความหมายของสสาร 2. ของแข็ง ของเหลว และแกส 3. การเปลี่ยนสถานะของสสาร ใหเลือกที่รูปปุมขอตางๆ เมื่อคลิกจะขึ้นชื่อเรื่องที่เราตองการ

เมื่อเรียนจบแลวคอยเขาสูเมนูตอไปนี้ - แบบฝกหัด

Page 191: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

179

ออกจากโปรแกรม

ถานักเรียนเรียนจบแลวตองการออกจากโปรแกรมใหนักเรียนเลือก ออก โปรแกรมจะออกอัตโนมัติ แตถานักเรียนเลือกไมออกโปรแกรมจะกลบัเขาเมนูหลักเชนเดิม

Page 192: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

180

ภาคผนวก ฌ ภาพการทดลอง

การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 193: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

181

ข้ันทดลองเดี่ยว (one – to – one try out )

หาประสิทธิภาพกับ นักเรยีนจาํนวน 3 คน

ข้ันทดลองกลุมยอย (Small group try out) ทดลองกับนักเรียน จํานวน 9 คน

Page 194: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

182

ข้ันทดลองภาคสนาม (Field try out) โดยกลุมตวัอยาง จํานวน 30 คน

นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5โรงเรียนวัดชองพราน สพท.ราชบุรี เขต 2

Page 195: › objects › thesis › fulltext › snamcn › ... การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ...เป นอย างด ย งจากรองศาสตราจารย

183

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ – สกุล นายเอกสิทธิ์ เกิดลอย ที่อยู 24/1 หมู 5 ตําบลบานเลือก อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี ที่ทํางาน โรงเรียนวัดชองพราน อําเภอโพธาราม สพท.ราชบุรี เขต2 ประวัติการศกึษา

พ.ศ. 2527 สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนวัดบานเลือก อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี

พ.ศ. 2533 สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนโพธาวฒันาเสน ี อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี

พ.ศ. 2537 สําเร็จการศึกษาปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตนิิยมอนัดับ 2) วิชาเอกการประถมศึกษา จากวิทยาลัยครูนครปฐม

พ.ศ. 2545 ศึกษาตอระดบัปริญญามหาบัณฑิต สาขาวชิาเทคโนโลยีการ-ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการรับราชการ

พ.ศ. 2537 อาจารย 1 โรงเรียนบานหวยยาง ตําบลเขาขลุง อําเภอบานโปง จังหวดัราชบุรี

พ.ศ. 2547 อาจารย 2 โรงเรียนบานหวยยาง ตําบลเขาขลุง อําเภอบานโปง จังหวดัราชบุรี

พ.ศ. 2548 – ปจจุบัน ครู คศ. 2 โรงเรียนวดัชองพราน ตําบลเตาปูน อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี


Recommended