+ All Categories
Home > Documents > บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10...

บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10...

Date post: 03-Aug-2020
Category:
Upload: others
View: 3 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
7
10 บทที1 บทนา ปัญหาและความเป็นมาของปัญหา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 พุทธศักราช 2550-2554 และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที11 พุทธศักราช 2555-2559 ไดมุงเนนการ ประยุกตแใชเทคโนโลยีใหเหมาะสม ใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัฒนแ ซึ่งแนวโนมของ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เชน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด ความกาวหนาอยาง รวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี สรางความ เปลี่ยนแปลงทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมทั้งในดานโอกาสและภัยคุกคาม จึงจําเป็นตองเตรียมพรอมให ทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดังกลาวในอนาคต โดยจะตองมีการบริหารจัดการองคแความรู อยางเป็นระบบ ทั้งการพัฒนาหรือสรางองคแความรู รวมถึงการประยุกตแใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมมา ผสมผสานรวมกับจุดแข็งในสังคมไทย เพื่อเตรียมความพรอมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของ ประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม โดยให ความสําคัญกับการพัฒนาคน และสังคมไทยใหมีคุณภาพ มีโอกาสเขาถึงทรัพยากร และไดรับ ประโยชนแจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อยางเป็นธรรม (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , 2555) การศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญในการสรางประชากรของประเทศใหเป็นผูมีความรู ความคิด พฤติกรรม ทัศนคติ คานิยม และคุณธรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญตอการพัฒนาประเทศให เจริญกาวหนาในวิถีทางที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล (ศักดิ์สิน ชองดารากุล, 2552) เป็นรากฐานใน กระบวนการสรางสรรคแความเจริญกาวหนา เพราะการศึกษามีความสัมพันธแกับการพัฒนาทรัพยากร มนุษยแใหเป็นผูที่รูจักคิดรูจักทํา และรูจักพัฒนา แกไขปัญหาในประเทศ จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ตองพัฒนา คนหรือประชากรใหมีคุณภาพควบคูกันไป เพื่อใหผูเรียนมีระดับสติปัญญา มีความรับผิดชอบ ตอ สังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีทักษะตลอดจนบุคลิกภาพที่พึงประสงคแ เพื่อใหสามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วทางเศรษฐกิจและสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ (สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , 2555) การพัฒนาศักยภาพทางการศึกษาของคนไทย เพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาทุกระดับ โดยปฏิรูปการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรใหไดมาตรฐาน ปรับปรุงเนื้อหาสาระวิชาและ กระบวนการเรียนรู การจัดใหมีสื่อและอุปกรณแที่จําเป็นตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยาง เพียงพอ รวมทั้งการนําเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการเรียนการสอน (ชณรรษ หาญอาษา, 2550) ครูควรปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมใหแกผูเรียน เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีตางๆ ในอนาคต และการจัดการเรียนการสอนนั้นตองสอดคลองกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ที่เนนการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู สามารถพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด
Transcript
Page 1: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

10

บทที่ 1

บทน า

ปัญหาและความเป็นมาของปัญหา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พุทธศักราช 2550-2554 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พุทธศักราช 2555-2559 ไดมุงเนนการประยุกตแใชเทคโนโลยีใหเหมาะสม ใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัฒนแ ซึ่งแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เชน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด ความกาวหนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสด ุและนาโนเทคโนโลยี สรางความเปลี่ยนแปลงทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมทั้งในดานโอกาสและภัยคุกคาม จึงจําเป็นตองเตรียมพรอมใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดังกลาวในอนาคต โดยจะตองมีการบริหารจัดการองคแความรูอยางเป็นระบบ ทั้งการพัฒนาหรือสรางองคแความรู รวมถึงการประยุกตแใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานรวมกับจุดแข็งในสังคมไทย เพ่ือเตรียมความพรอมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาคน และสังคมไทยใหมีคุณภาพ มีโอกาสเขาถึงทรัพยากร และไดรับประโยชนแจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อยางเป็นธรรม (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2555)

การศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญในการสรางประชากรของประเทศใหเป็นผูมีความรู ความคิด พฤติกรรม ทัศนคติ คานิยม และคุณธรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญตอการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาในวิถีทางที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล (ศักดิ์สิน ชองดารากุล, 2552) เป็นรากฐานในกระบวนการสรางสรรคแความเจริญกาวหนา เพราะการศึกษามีความสัมพันธแกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยแใหเป็นผูที่รูจักคิดรูจักทํา และรูจักพัฒนา แกไขปัญหาในประเทศ จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ตองพัฒนาคนหรือประชากรใหมีคุณภาพควบคูกันไป เพื่อใหผูเรียนมีระดับสติปัญญา มีความรับผิดชอบ ตอสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีทักษะตลอดจนบุคลิกภาพที่พึงประสงคแ เพ่ือใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วทางเศรษฐกิจและสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2555)

การพัฒนาศักยภาพทางการศึกษาของคนไทย เพ่ือเพ่ิมคุณภาพการศึกษาทุกระดับ โดยปฏิรูปการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรใหไดมาตรฐาน ปรับปรุงเนื้อหาสาระวิชาและกระบวนการเรียนรู การจัดใหมีสื่อและอุปกรณแท่ีจําเป็นตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางเพียงพอ รวมทั้งการนําเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการเรียนการสอน (ชณรรษ หาญอาษา, 2550) ครูควรปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมใหแกผูเรียน เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีตางๆ ในอนาคต และการจัดการเรียนการสอนนั้นตองสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ที่เนนการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู สามารถพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด

Page 2: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

11

กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดกระบวนการเรียนรู ในมาตรา 24 กําหนดวา สถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ ดังนี้ 1) จัดเนื้อหาและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 2) ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณแ และการประยุกตแความรูมาใช เพ่ือปูองกันและแกไขปัญหา 3) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณแจริง ฝึกการปฏิบัติ ใหทําได คิดเป็นทําเป็น รักการอานและเกิดการใฝุรูอยางตอเนื่อง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานความรูตางๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรมคานิยมท่ีดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคแไวในทุกสาระการเรียนรู 5) สงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ทั้งนี้ผูเรียนและผูสอนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลงเรียนรู 6) จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝุาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ (ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา, 2542) ดังนั้นควรจัดการศึกษาท่ีมีผูเรียนทุกคนเป็นศูนยแกลาง ใหผูเรียนมีความสามารถเรียนรูดวยวิธีการตางๆ ตามสติปัญญา ความสามารถของผูเรียน และพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (ชณรรษ หาญอาษา, 2550) คอมพิวเตอรแไดเขามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งนํามาใชเป็นเครื่องมือในการสรางสื่อการเรียนการสอนรูปแบบใหมแทนที่เอกสารและหนังสือ ซึ่งเราเรียกวา สื่อคอมพิวเตอรแชวยสอน หรือ CAI (Computer-Assisted Instruction) ถือไดวาเป็นสื่อการสอนที่เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเป็นศูนยแกลางหรือผูเรียนเป็นสําคัญ ซ่ึงสอดคลองกับ จิราพร ชมพิกุล และ ชอฟูา นิลรัตนแ (2549) ไดกลาววา “การศึกษาท่ีเนนผูเรียนเป็นสําคัญจะตองพัฒนาสื่อการสอนใหมีประสิทธิภาพ สื่อการสอนอยางหนึ่งที่นาสนใจมากคือคอมพิวเตอรแชวยสอน ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถนํามาใชในกระบวนการเรียนรูไดอยางดียิ่งทั้งในลักษณะของการประกอบการเรียนตามหลักสูตร และการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนโดยเนนการเรียนรูหรือทบทวนดวยตนเอง”โดยผูเรียนสามารถเรียนไปตามความสามารถของตนเองตามอัตราการเรียนรู โดยไมตองรอหรือเรงใหไปพรอมๆ กันกับเพ่ือนในหองเรียน และผูเรียนสามารถเรียนไดโดยไมตองมีครูรวมทั้งสามารถทบทวนบทเรียนไดเองตลอดเวลา ตลอดจนชวยลดปัญหาการเรียนการสอนได ในหองเรียนมักจะพบปัญหาเกี่ยวกับผูเรียนแตละคนมีความเขาใจในบทเรียนไมพรอมกัน ผูเรียนบางคนเขาใจในบทเรียนไดเร็ว แตตองรอเพ่ือนๆ ที่ยังเรียนไมเขาใจก็จะทําใหเกิดความเบื่อหนายหรือขาดความสนใจ ดังนั้น บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนจะเขามาชวยแกปัญหาความแตกตางระหวางบุคคลไดดี และเปิดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนตามเวลาที่สะดวก ตามความสนใจของผูเรียนและที่สําคัญที่สุดคือ บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนมีการประเมินผลในตัวเองเพ่ือใหผูเรียนเห็นผลสําเร็จ เห็นความเจริญกาวหนาของตนในการเรียนรูในแตละตอน แตละหนวยการเรียน นอกจากนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนยังสามารถชวยแกปัญหาการขาดแคลนผูสอนไดดวย เพราะสามารถใชสอนแทนครูและสอนผูเรียนไดจํานวนมากๆ ในเวลาเดียวกัน (สุทิน ทองไสว, 2552)

Page 3: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

12

คณิตศาสตรแ มาจากคําวา คณิต (การนับและการคํานวณ) และศาสตรแ (ความรูหรือการศึกษา) มีความหมายวา การศึกษาหรือวิชาที่เก่ียวกับการคํานวณ ตรงกับภาษาอังกฤษ คือ Mathematic และมีความหมายในภาพรวม คือ วิชาที่เก่ียวกับความคิดรวบยอด มีโครงสราง แสดงความเป็นเหตุเป็นผลตอกัน ใชสัญลักษณแในการสื่อความหมาย และที่สําคัญยังเป็นเครื่องมือใหผูเรียนคิดอยางมีเหตุผล (เปรมวดี ศรีธนพล, 2553) คณิตศาสตรแมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษยแ ทําใหมนุษยแมีความคิดสรางสรรคแ คิดอยางมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหแปัญหาหรือสถานการณแไดอยางถี่ถวนรอบคอบ ชวยใหคาดการณแ วางแผน ตัดสินใจ แกปัญหา และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตรแยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรแ เทคโนโลยีและศาสตรแอ่ืนๆ คณิตศาสตรแจึงมีประโยชนแตอการดําเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2552) นอกจากนี้ยังชวยพัฒนาคนใหเป็นมนุษยแที่สมบูรณแ มีความสมดุลทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณแ สามารถคิดเป็น ทําเป็น แกปัญหาเป็น และสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข (ภัทรา สุวรรณบัตร, 2552) แตคณิตศาสตรแเป็นวิชาที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําอยูมาก จากคาเฉลี่ยพ้ืนฐานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ในปีการศึกษา 2555 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาคณิตศาสตรแมีคะแนนเฉลี่ยพ้ืนฐานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐานในระดับประเทศเทากับ 26.95 ซ่ึงตํ่ากวาวชิาอ่ืนๆ (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ, 2555) สาเหตุอาจมาจากปัญหาการเรียนการสอนคณิตศาสตรแเนื่องจากคณิตศาสตรแเป็นวิชาที่อยูในลักษณะเป็นนามธรรม เขาใจยาก การสอนในหองเรียนคณิตศาสตรแไมนาสนใจและไมมีการกระตุน ครูควรหาวิธีการใหมๆ ที่นาตื่นเตนนาสนใจ มีการสอนที่หลากหลาย และเนนใหนักเรียนมีสวนรวมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรแ บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนจึงเหมาะกับวิชาคณิตศาสตรแ จากหลักฐานของการใชคอมพิวเตอรแชวยสอนทําใหนักการศึกษาหลายทานไดทําการทดลองกับนักเรียนระดับตางๆ ใหผลในลักษณะเป็นเครื่องมือชวยพัฒนานักเรียนในลักษณะที่แตกตางกับการสอนของครู กลาวคือ คอมพิวเตอรแชวยสอนจะชวยใหคนเกงสามารถเรียนไดเกงขึ้น คนเรียนออนสามารถพัฒนาใหมีมาตรฐานสูงขึ้น การนําคอมพิวเตอรแชวยสอนในรูปแบบของสื่อประสมในปัจจุบันเป็นที่นิยมแพรหลาย เพราะเป็นสื่อที่มีคุณภาพเนนความสมจริงดานการจัดภาพ แสง สี เสียงอยางเป็นธรรมชาติ (ประจัก อะนันทา, 2554) จากเหตุผลดังกลาวขางตน ผูวิจัยสนใจพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนื่องจากเนื้อหา เรื่อง ความนาจะเป็น เป็นเรื่องท่ีตองใชรูปภาพเขามาเกี่ยวของในการเรียนการสอน เนนใหนักเรียนไดทํากิจกรรม ฝึกทักษะการสังเกตแบบรูป วิชาคณิตศาสตรแเป็นวิชาที่อยูในลักษณะเป็นนามธรรม เขาใจยาก ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูควรใหนักเรียนไดทําการทดลองจริง ควรมีอุปกรณแมาประกอบในการเรียนการสอนเพ่ือเป็นตัวอยางใหนักเรียนไดเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนสามารถแกปัญหาการเรียนการสอนแบบนี้ได ทําใหผูเรียนมีการสื่อความหมายที่เป็นรูปธรรม เกิดมโนภาพ เขาใจเรื่องที่สอนไดดีขึ้น อีกทั้งทําใหผูเรียนเกิดความสนุกสนานไปกับการเรียน

Page 4: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

13

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพ่ือพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. เพ่ือหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑแ 80/80 3. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น กับนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกติ 4. เพ่ือศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 5. เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น กับนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกติ สมมติฐานของการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑแ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สูงกวานักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกติ 3. นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 4. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น มีความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแสูงกวานักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกติ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ไดบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑแ 80/80 2. ทําใหไดทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 3. ทําใหไดทราบเจตคติของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 4. ทําใหไดทราบความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแของนักเรียนไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น

Page 5: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

14

5. เป็นแนวทางในการสรางและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน ในวิชาคณิตศาสตรแและวิชาอ่ืนๆ อีกตอไป 6. เป็นแนวทางในการสงเสริมใหมีการนําเอาวิทยาการดานเทคโนโลยีการศึกษา และวิทยาการดานคอมพิวเตอรแมาประยุกตแในการศึกษาและแกปัญหาทางการศึกษา

ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสะบายอยวิทยา อําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จํานวน 5 หองเรียน มีจํานวนนักเรียน 119 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสะบายอยวิทยา อําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ซึ่งเลือกกลุมตัวอยางโดยนําคะแนนวิชาคณิตศาสตรแในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 มาวิเคราะหแคาเฉลี่ยแลวเลือกนักเรียนจํานวน 2 หองเรียน ที่มีคาเฉลี่ยไมแตกตางกัน จากนั้นสุมอยางงายโดยวิธีการจับฉลากใหนักเรียนกลุมที่ 1 เป็นกลุมทดลอง ซึ่งไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน และนักเรียนกลุมท่ี 2 เป็นกลุมควบคุม ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกต ิ 2. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรอิสระ ไดแกการจัดการเรียนรูมี 2 วิธี คือ 1. การจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 2. การจัดการเรียนรูโดยใชแผนการจัดการเรียนรูที่สอนแบบปกติ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เรื่อง ความนาจะเป็น ตัวแปรตาม ไดแก 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรบันักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และกลุมท่ีไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกต ิ 2. เจตคติของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น 3. ความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแของนักเรียนทีไ่ดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน เรื่อง ความนาจะเป็น และกลุมที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกต ิ 3. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรแ ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ความนาจะเป็น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

Page 6: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

15

นิยามศัพท์เฉพาะ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction หรือ CAI) หมายถึง สื่อการเรียนรูทางคอมพิวเตอรแรูปแบบหนึ่งซึ่งใชความสามารถของคอมพิวเตอรแในการนําเสนอเนื้อหา เรื่อง ความนาจะเป็น สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเพ่ือถายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองคแความรูในลักษณะที่ใกลเคียงกับการสอนจริงในหองเรียนมากที่สุดโดยผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง บทเรียนที่สรางเป็นคอมพิวเตอรแชวยสอนประเภทเสนอเนื้อหา การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนสรางขึ้นโดยใชโปรแกรม Flash 2. การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การนําบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนไดเรียนวิชาคณิตศาสตรแ สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ความนาจะเป็น 15 ชั่วโมง จํานวน 4 บทเรียน โดยผูวิจัยอธิบายวิธกีารใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน แลวใหนักเรียนเรียนดวยตัวเองจนจบบทเรียน ซึ่งตัวบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนผูวิจัยทําการติดตั้งไวในหองคอมพิวเตอรแของโรงเรียน หรือหากนักเรียนคนใดสนใจก็สามารถนําไปเรียนเองที่บานได 3. การจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ หมายถึง การสอนตามแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง ความนาจะเป็น ในรายวิชาคณิตศาสตรแ สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จํานวน 15 ชั่วโมง ซึ่งสอนโดยคุณครูประจําวิชา 4. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนเมื่อนํามาใชในการจัดการเรียนรูแลวทําใหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคแที่วางไวที่มีคุณภาพตามเกณฑแ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง รอยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทําแบบฝึกหัดหรือกิจกรรมยอยหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนแตละตอน 80 ตัวหลัง หมายถึง รอยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอนเรียบรอยแลว 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู ความเขาใจ ความสามารถในการเรียนรูของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรแชวยสอน กับการเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยวิธีปกติ เรื่อง ความนาจะเป็น ในรายวิชาคณิตศาสตรแ สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่ง วัดไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผูวิจัยสรางขึ้น 6. เจตคติ หมายถึง ความพรอมของประสาท รางกาย และจิตใจ หรือความโนมเอียงของจิตใจ หรือความรูสึกอารมณแ หรือสภาพจิตใจของบุคคล ซ่ึงแสดงออกมาในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ทั้งนี้มีผลมาจากการเรียนรูหรือประสบการณแ หรือระดับความเชื่อ และแสดงออกมาใหเห็นได วัดไดจากการทําแบบวัดเจตคติที่ผูวิจัยสรางขึ้น 7. ทักษะการเชื่อมโยง หมายถึง กระบวนการที่ตองอาศัยการคิด วิเคราะหแ และความคิดริเริ่มสรางสรรคแ ในการนําความรู เนื้อหาสาระ และหลักการทางคณิตศาสตรแ มาสรางความสัมพันธแอยางเป็นเหตุเป็นผล ระหวางความรูและทักษะ/กระบวนการที่มีในเนื้อหาคณิตศาสตรแ กับงานท่ีเกี่ยวของ เพื่อนําไปสูการแกปัญหา และการเรียนรูแนวคิดใหมที่ซับซอนหรือสมบูรณแขึ้น ซ่ึง

Page 7: บทที่ 1 - Prince of Songkla Universitysoreda.oas.psu.ac.th/files/677_file_Chapter1.pdf10 บทท 1 บทน า ป ญหาและความเป นมาของป

16

วัดไดจากการทําแบบทดสอบวัดความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแ ที่ผูวิจัยสรางข้ึน โดยแบบทดสอบวัดความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรแนี้จะเป็นการวัดการเชื่อมโยงระหวางคณิตศาสตรแกับคณิตศาสตรแ และการเชื่อมโยงระหวางคณิตศาสตรแกับชีวิตประจําวัน


Recommended